Page 46 - Culture3-2017
P. 46

ไข้เจ็บของผู้คนที่เกวียนพระบำทชักลำกผ่ำนไปทุเลำและหำยลง อีก
                                                              ทั้งจะได้รับควำมโชคดี ท�ำให้แต่ละบ้ำนอยำกอัญเชิญผ้ำพระบำทไป
                                                              ประดิษฐำนไว้ ท�ำให้เกิดกิจกรรมกำรเล่นชักเย่อเกวียนพระบำทขึ้น
                                                              ตำมมำ โดยแต่ละบ้ำนส่งทีมมำแข่งขันกัน ทีมใดชนะก็จะได้สิทธิ์
                                                              ในกำรน�ำผ้ำพระบำทไปประดิษฐำนไว้หนึ่งปี ต่อมำภำยหลังได้
                                                              ยกเลิกไป เหลือแต่แข่งขันเพื่อควำมสนุกสนำนและเสริมสร้ำง
                                                              ควำมสำมัคคีในชุมชน ส่วนผ้ำพระบำทผืนที่น�ำมำจำกภำคใต้เก็บ
                                                              รักษำไว้ที่วัดตะปอนน้อย ผืนของวัดตะปอนใหญ่เป็นกำรคัดลอก
                                                              ขึ้นมำเพื่ออัญเชิญขึ้นเกวียนในกำรแข่งชักเย่อที่วัดตะปอนใหญ่
                                                                    สันนิษฐำนว่ำกำรเล่นชักเย่อเกวียนมีมำตั้งแต่สมัยสุโขทัย
                                                              เพรำะมีหลักฐำนว่ำมีงำนประเพณีต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพุทธศำสนำ

                                                              ทั้งยังเกิดขึ้นในหลำยท้องถิ่น มีชื่อเรียกแตกต่ำงกันไป และในบำงท้องที่
        ๑                                                     บนเกวียนที่ใช้เล่นชักเย่อนั้นน�ำเพียงพระพุทธรูปมำตั้งไว้ แต่ส�ำหรับ





               เกวียนพระบาทหมำยถึงเกวียนและผ้ำพระบำท สิ่งส�ำคัญ
          ที่สุดคือ ผ้ำพระบำท เป็นผ้ำผืนใหญ่ที่มีควำมกว้ำง ๑.๕ เมตร
          ยำว ๗ เมตร บนผ้ำเขียนรอยพระบำทจ�ำลองสี่รอยซ้อนกัน ตำม
          ต�ำนำนที่เล่ำสืบต่อกันมำเชื่อว่ำรอยพระบำทสี่รอยนี้เป็นตัวแทน
          ของพระพุทธเจ้ำสี่พระองค์ ได้แก่ รอยด้ำนนอกที่มีขนำดใหญ่สุด
          เป็นรอยของพระกกุสันโธ ถัดมำเป็นรอยของพระโกนำคม จำกนั้น
          จึงเป็นรอยของพระกัสสปะ และรอยเล็กที่สุดเป็นรอยของพระโคตม-
          พุทธเจ้ำหรือพระพุทธเจ้ำองค์ปัจจุบันนั่นเอง
               ผ้ำพระบำทที่วัดตะปอนน้อยเป็นผ้ำพระบำทจ�ำลองที่อัญเชิญ
          มำจำกวัดช้ำงไห้ จังหวัดปัตตำนี โดยอัญเชิญมำทำงเรือและขึ้นฝั่ง

          ที่บ้ำนคลองยำยด�ำก่อนมำประดิษฐำนที่วัดตะปอนน้อย ด้วยเหตุที่
          ต้นทำงของผ้ำพระบำทมำจำกทำงภำคใต้ จึงมีผู้สันนิฐำนว่ำประเพณี
          กำรแห่ผ้ำพระบำทอำจมำจำกประเพณีชักพระของทำงภำคใต้
               กำรเล่นชักเย่อเกวียนพระบำทของที่นี่ปฏิบัติสืบทอดมำเป็น
          เวลำนำน เป็นเอกลักษณ์เฉพำะตัว และถือเป็นกิจกรรมส�ำคัญของ
          ชุมชนแห่งนี้ โดยในวันที่ ๑๕-๑๖ เมษำยน ที่วัดตะปอนน้อยจัดให้
          เล่นชักเย่อเกวียนพระบำทเพื่อควำมสนุกสนำน ส่วนที่วัดตะปอนใหญ่
          จัดในที่ ๑๗ เมษำยน ซึ่งเป็นวันสุดท้ำยของเทศกำล ถือเป็นงำนใหญ่
          เพรำะเป็นกำรแข่งขันชักเย่อเกวียนพระบำทแบบจริงจัง
               ตำมประวัติที่เล่ำต่อกันมำเกี่ยวกับกำรแห่เกวียนพระบำท
          และกำรชักเย่อเกวียนพระบำทมีอยู่ว่ำ ในอดีตเชื่อว่ำเมื่ออัญเชิญ
          ผ้ำพระบำทขึ้นเกวียนแห่ไปตำมสถำนที่ต่ำง ๆ ในชุมชน จะท�ำให้โรคภัย
         ๑                                                     ๒

          44
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51