Page 41 - Culture3-2017
P. 41

๓

                                                                 ภาพ ๑-๒ พระพุทธสิหิงค์ นครศรีธรรมราช ประดิษฐานอยู่ที่หอพระพุทธสิหิงค์
                                                                 กลางเมืองนครศรีธรรมราช
                                                                 ภาพ ๓ พระพุทธสิหิงค์ กรุงเทพฯ ประดิษฐานในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์
                  สอดคล้องกับศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัยซึ่งเชื่อว่า ทั้งต�านาน  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
            และการสร้างพระพุทธสิหิงค์ รวมทั้งพระแก้วมรกต เกิดขึ้นในสมัยของ
            ท้าวมหาพรหมนี้เอง โดยตั้งสมมติฐานว่าน่าจะเป็นผู้สร้างพระพุทธรูป
            ส�าคัญทั้งสองแล้วถวายพระพุทธสิหิงค์แด่พระเจ้าแสนเมืองมาเพื่อเป็น

            การขอพระราชทานอภัยโทษจนได้กลับไปเป็นเจ้าเมืองเชียงรายตามเดิม
                  หลักฐานส�าคัญที่แสดงให้เห็นว่า พระพุทธสิหิงค์ เมือง  อย่างไรก็ตามส่วนพระเศียรเดิมของพระพุทธสิหิงค์เมือง
            เชียงใหม่ สร้างขึ้นในล้านนาและสร้างขึ้นตามต�านาน คือ เรื่องของ  เชียงใหม่นั้น ถูกตัดไปเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๕ ปัจจุบันคือพระเศียรที่หล่อ
            รูปแบบศิลปกรรมที่จัดว่าเป็นพระพุทธรูปแบบเชียงแสนสิงห์หนึ่ง ใน  ขึ้นใหม่ เกี่ยวกับการถูกตัดพระเศียรนี้มีปรากฏหลักฐานในบันทึกที่
            ศิลปะล้านนาระยะที่ ๒ มีอายุราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ลักษณะทาง   ยอร์ช เซเดส์ แปลหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์เป็นภาษาฝรั่งเศส ซึ่งมี
            พุทธศิลป์เป็นพระพุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิเพชร พระวรกายอวบอ้วน    ภาพลายเส้นของเดิมปรากฏอยู่ด้วย น่าเสียดายที่ลายเส้นดังกล่าว
            พระพักตร์กลม ทรงแย้มพระโอษฐ์ พระหนุเป็นปม ขมวดพระเกศาใหญ่    เป็นเพียงภาพร่างคร่าว ๆ ไม่สามารถยืนยันถึงรูปแบบดั้งเดิมได้ แต่
            ยอดอุษณีษะเป็นลูกแก้วคล้ายดอกบัวตูม ชายสังฆาฏิสั้นเหนือพระถัน    ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัยสันนิษฐานว่า พระพักตร์เดิมของพระพุทธ-
            ลักษณะส�าคัญที่แตกต่างจากศิลปะปาละ พุกาม และหริภุญไชย คือ   สิหิงค์คงมีขนาดและรูปทรงใกล้เคียงกับพระพุทธรูปปางมารวิชัยแบบ
            ชายผ้าที่หน้าตักแยกออกเป็น ๒ ชาย ในขณะที่ศิลปะทั้ง ๓ สมัย   สิงห์หนึ่งที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ เนื่องจากเคย
            ดังกล่าวจะเป็นรูปครึ่งวงกลมคล้ายพัด ลักษณะเช่นนี้เป็นรูปแบบ   ประดิษฐานอยู่ในวิหารลายค�า วัดพระสิงห์ เช่นเดียวกับพระพุทธสิหิงค์
            ของศิลปะปาละที่ล้านนาน่าจะรับต่อมาจากพุกามของพม่า    น่าจะเป็นฝีมือช่างเดียวกันและหล่อขึ้นในคราวเดียวกัน



                                                                                           กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐    39
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46