Page 38 - Culture3-2017
P. 38

พระพุทธสิหิงค์นอกจากเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ประดิษฐานในหอพระพุทธสิหิงค์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็น
          เชียงใหม่ ยังนับเป็นพระพุทธรูปส�าคัญของประเทศไทย ปรากฏอยู่  พระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่งขัดสมาธิเพชร พระวรกายอวบอ้วน
          ด้วยกัน ๓ องค์ ได้แก่ องค์ที่ ๑ ประดิษฐานในวิหารลายค�า   หรือที่นิยมเรียกว่าแบบขนมต้ม จัดอยู่ในช่วงสมัยอยุธยา สกุลช่าง
          วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่ง  นครศรีธรรมราช ก�าหนดอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๒
          ขัดสมาธิเพชร อยู่ในศิลปะล้านนาที่เรียกว่า แบบสิงห์หนึ่ง หรือ  ต�านานความเป็นมาของพระพุทธสิหิงค์เล่าไว้ว่าสร้างขึ้นใน
          แบบเชียงแสนสิงห์หนึ่ง อายุราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐ องค์ที่ ๒  ลังกาเมื่อปี พ.ศ. ๗๐๐ กษัตริย์ของกรุงสุโขทัยส่งราชทูตไปทูลขอ
          ประดิษฐานในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ  ต่อพระเจ้ากรุงสิงหล พระองค์จึงได้ส่งพระพุทธสิหิงค์มาที่นครศรี-
          พระนคร เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ ประทับนั่งขัดสมาธิราบ จัดอยู่ ธรรมราช หลังจากนั้นพระเจ้ากรุงสุโขทัยจึงอัญเชิญมายังสุโขทัย
          ในศิลปะล้านนาที่เรียกว่า แบบเชียงแสนสิงห์สอง ที่ได้รับอิทธิพลจาก  และต่อมาได้มีการอัญเชิญไปยังเมืองต่าง ๆ ที่ส�าคัญ คือ ชัยนาท
          ศิลปะสุโขทัย น่าจะมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๑ และองค์ที่ ๓   พระนครศรีอยุธยา ก�าแพงเพชร ก่อนจะขึ้นมาสู่ดินแดนล้านนา
























































           ๑

          36
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43