Page 30 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 30

๑



















        ๒                                          ๓                                           ๔





               วัฒนธรรมการกินข้าวเป็นอาหารหลักนอกจาก  แตกต่างกันไปตามพื้นถิ่น คนอีสานเรียกว่ากระติ๊บข้าว    ๑-๓ ลายสานจากเส้นไผ่
          จะท?าให้เกิดการสร้างสรรค์อาหารต่าง ๆ ขึ้นแล้ว สิ่งที่  คนภาคกลางเรียกกล่องใส่ข้าวเหนียว ขณะที่ผู้คน   ถูกขึ้นรูปด้วยความเชี่ยวชาญ
                                                                                                สั่งสมจากรุ่นสู่รุ่น
          คู่เคียงกันก็คือการรู้จักคิดค้น ประดิษฐ์ และสร้างสรรค์  ล้านนาเรียกต่อเนื่องกันมาว่า “ก่องข้าว”  ๔ ชาวบ้านไผ่ปง ใช้เวลา
          ภาชนะไว้ใส่ข้าว ทั้งเพื่อความสะดวกและเพื่อถนอม  ภูมิปัญญาในการท?ากล่องใส่ข้าวเหนียว    ในยามว่างจากการท?าไร่ท?านา
          อาหาร ซึ่งส่วนใหญ่ล้วนเลือกใช้วัสดุจากธรรมชาติใกล้  กระติ๊บข้าว หรือก่องข้าวนั้น ส่วนใหญ่มีวิธีการท?า  ประดิษฐ์ก่องข้าวดอกเพื่อใช้
                                                                                                ในครัวเรือน และขายเป็น
          ตัวมาประกอบ เช่น ไผ่ หวาย ใบลาน ไม้สัก แตกต่าง  คล้ายคลึงกัน แตกต่างกันบ้างในรายละเอียด เช่น   รายได้เสริม
          กันไปตามแต่ละท้องถิ่น                    กระติ๊บข้าวของคนอีสานนิยมสานจากไม้ไผ่เป็นสี
               เครื่องจักสานเพื่อการเก็บข้าวเหนียวให้ยังคง  จากธรรมชาติ ไม่มีลวดลาย ขณะที่ก่องข้าวของทาง
          ความร้อน ป้องกันความชื้น ระบายอากาศ ถูกเรียก  ภาคเหนือนิยมท?าจากใบลานสานและท?าจากไม้ไผ่



          28
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35