Page 27 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 27
๒
๑ เจ้าพนักงานจ่ากลองชนะจ?านวน ๔๐ นาย ตีกลองชนะแดงลายทอง ๒ เครื่องดนตรีทุกชิ้นในวงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องใหญ่ประดับด้วยมุก
ขั้นตอนการประโคมย?่ายาม
การประโคมย?่ายามจะประโคมตามล?าดับ เริ่มจาก เพลงแมลงวันทอง เมื่อบรรเลงจบตามล?าดับจึงถือว่าเสร็จการ
วงเครื่องสูง คือ วงสังข์แตร ประโคม “เพลงส?าหรับบท” เสมือน ประโคมย?่ายาม ๑ ครั้ง
เป็นสัญญาณแจ้งเริ่มต้นหรือเสร็จสิ้นลงแล้ว ควบคู่ไปกับกลอง
มโหระทึกที่ประโคมอย่างต่อเนื่อง ต่อด้วยวงปี่ไฉน กลองชนะ ทุกช่วงจังหวะของการประโคมย?่ายามไม่เพียงแต่บ่งบอก
ประโคมเพลง “พญาโศกลอยลม” ซึ่งท?านองเพลงมีส?าเนียง ช่วงเวลา หากดนตรีที่บรรเลงยังได้สื่อสารถึงความรู้สึกอัน
โศกเศร้าโหยหวน สมชื่อเพลง ซึ่งอาจารย์บุญตาเสริมว่า ท?านอง โศกเศร้า เป็นเสียงที่สะท้อนถึงจิตใจของประชาชนในห้วงยาม
เพลงที่เป่ามีลักษณะโหยหวน วนไปวนมา เหมือนวิธีการขับร้อง แห่งการสูญเสียพระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่ง
ของนางร้องไห้ โดยจะประโคมสลับเช่นนี้ ๒ ครั้ง และวงสังข์แตร
จะประโคมอีกครั้ง ก่อนที่วงปี่พาทย์นางหงส์จะประโคม “เพลง เอกสารอ้างอิง
เรื่องนางหงส์” ซึ่งโบราณาจารย์ได้น?าเพลงอัตรา ๒ ชั้น กับ - สัมภาษณ์ บุญตา เขียนทองกุล นักวิชาการละครและดนตรี
เพลงฉิ่งที่มีส?านวนใกล้เคียงกันมาเรียงร้อยผูกให้เป็นเพลงเรื่อง ช?านาญการพิเศษ กลุ่มวิจัยและพัฒนาการสังคีต ส?านักการสังคีต
มีจ?านวน ๕ เพลง ประกอบด้วย เพลงพราหมณ์เก็บหัวแหวน - นนทพร อยู่มั่งมี. ธรรมเนียมพระบรมศพ และพระศพเจ้านาย.
กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๑.
เพลงสาวสอดแหวน เพลงกระบอกทอง เพลงคู่แมลงวันทอง และ
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 25