Page 35 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 35
๑ ๒
จากบันทึกของชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามา จนล่วงมาถึงปัจจุบัน ชาวบ้านไผ่ปงยังคงใช้
ส?ารวจดินแดนสยามเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๔ และขึ้นมาสู่ สองมือจักสานก่องข้าวดอกอย่างต่อเนื่อง พวกเขา
แผ่นดินล้านนาเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ที่ตีพิมพ์ลงใน พัฒนาการสานก่องข้าวและลวดลายอันเป็นเอกลักษณ์
หนังสือ Temples and Elephants : Travels in สู่การเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดอื่น เช่น เสื่อ กระเป๋า ของเล่นเด็ก
๑-๒ ปกหน้าและภาพลายเส้น Siam in 1881-1882 โดยผู้แต่งคือ Carl Alfred เป็นการต่อยอดจากอดีตสู่ปัจจุบันผ่านภูมิปัญญา
ก่องข้าวในอดีต ซึ่งตีพิมพ์ใน Bock นักธรรมชาติวิทยาชาวนอร์เวย์ ได้บันทึกภาพ ดั้งเดิมอันทรงค่า
หนังสือ Temples and El-
ephants : Travels in Siam in ก่องข้าวโบราณชนิดหนึ่งที่ชาวบ้านเรียกต่อกันมาว่า
1881-1882 “ก่องข้าวดอกก?าบึ้งหลวง” หรือกล่องข้าวลาย ก่องข้าวดอกไม่ได้เป็นเพียงภาชนะบรรจุ
แต่งโดย Carl Alfred Bock แมงมุมใหญ่ เส้นตอกที่จักสานและย้อมมะเกลือให้ ข้าวเหนียวเท่านั้น แต่ยังบ่งบอกถึงวัฒนธรรม
เป็นสีด?าตกทอดเป็นงานหัตถศิลป์มาสู่ลูกหลานนับ การบริโภคของชาวเหนือที่แฝงไว้ด้วยภูมิปัญญา
หลายร้อยปี สะท้อนทั้งเอกลักษณ์ท้องถิ่นรวมไปถึง อันทรงคุณค่าแห่งล้านนา
ประวัติศาสตร์บางด้านของแผ่นดินล้านนา
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 33