57
เมษายน-มิ
ถุ
นายน ๒๕๕๖
ธรรมชาติ
-จั
กรวาล
ผู้
ช่
วยศาสตราจารย์
ดร.หทั
ยรั
ตน์
มาประณี
ต
ยาหอม
สารพั
ดเวชสรรพคุ
ณ
คนไทยสมั
ยโบราณมั
กเรี
ยกหา
“ยาหอม”
หรื
อ
“ยาลม”
ทุ
กครั้
ง
เมื่
อมี
อาการไม่
สบายวิ
งเวี
ยน จุ
กเสี
ยด คลื่
นไส้
อาเจี
ยน เป็
นต้
น นั
บเป็
น
ยาครอบจั
กรวาลที่
ต้
องมี
ติ
ดบ้
านเลยที
เดี
ยว ยาหอมเกิ
ดจากภู
มิ
ปั
ญญา
ท้
องถิ่
นของคนไทยที
่
น�
ำสมุ
นไพรหลากหลายชนิ
ดมาผสมปรุ
งใช้
เป็
น
ยารั
กษาโรคลมเสี
ยมากกว่
า เนื่
องจากภู
มิ
ประเทศอยู
่
ในเขตร้
อนชื้
น
ผู
้
ปรุ
งยาหอมจะต้
องรู
้
สรรพคุ
ณและวิ
ธี
การปรุ
งสมุ
นไพรต่
างๆ จึ
งออกมา
เป็
นยาหอมได้
และที่
เรี
ยกว่
ายาหอมเป็
นเพราะส่
วนประกอบของสมุ
นไพร
ที่
น�
ำมาใช้
มาจากเกสรดอกไม้
ที่
มี
กลิ่
นหอมหลายชนิ
ด อาทิ
เช่
น จ�
ำปา กฤษณา
หญ้
าฝรั่
น จั
นทน์
แดง รวมทั้
งเที
ยน เช่
น เที
ยนขาว เที
ยนด�
ำ เที
ยนแดง
เที
ยนข้
าวเปลื
อก และเที
ยนตาตั๊
กแตน นอกจากนี้
ยั
งมี
โกฐทั้
ง ๕ อี
ก เช่
น
โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชี
ยง โกฐหั
วบั
ว โกฐจุ
ฬาลั
มพา เป็
นต้
น
“โกฐ”
(อ่
านว่
า โกด) นั้
น เป็
นชื่
อเครื่
องยาสมุ
นไพรจํ
าพวกหนึ่
ง ซึ่
งจะได้
มา
จากส่
วนต่
างๆ ของพื
ช และมี
หลายชนิ
ด เช่
นโกฐทั้
ง ๕ อย่
างที่
ได้
กล่
าวมาแล้
วข้
างต้
น
ซึ่
งถื
อเป็
นส่
วนสำ
�คั
ญในการปรุ
งยาหอมแล้
ว ก็
ยั
งมี
โกฐอื่
นๆ ที่
มี
ความสำ
�คั
ญใน
ตำ
�รั
บยาไทยโบราณ เช่
น โกฐทั้
ง ๗ ก็
จะเพิ่
ม โกฐกระดู
ก โกฐก้
านพร้
าว นอกจากนั้
น
ก็
จะมี
โกฐทั้
ง ๙ ซึ่
งก็
จะเพิ่
ม โกฐพุ
งปลา โกฐชฎามั
งสี
และมี
โกฐพิ
เศษอี
ก ๓ ชนิ
ด คื
อ
โกฐกั
กกรา โกฐกะกลิ
้
ง และโกฐน้
ำ
�เต้
า ในตํ
ารายาแผนโบราณอาจจะมี
การเขี
ยนคำ
�ว่
า
“โกฐ” เป็
น โกฎ โกฏ โกฏฐ์
โกด หรื
อ โกษฐ์
ก็
ไม่
ต้
องสงสั
ยเพราะหมายถึ
ง โกฐ เดี
ยวกั
น
1...,49,50,51,52,53,54,55,56,57,58
60,61,62,63,64,65,66,67,68,69,...124