Page 68 - E-Book Culture 02_20182
P. 68
การย้ายถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อมีสาเหตุมาจากการถูกเกณฑ์และ
อพยพมาในภายหลังเพื่อตั้งถิ่นฐานตามญาติพี่น้องที่อาศัยอยู่ในพื้นที่
ต่างๆ ของประเทศไทย โดยการอพยพแต่ละครั้ง จะมีผู้น�ามาด้วย เช่น
ในปี พ.ศ. ๒๓๕๑ ญ้อเมืองท่าอุเทน มีท้าวหม้อ เป็นหัวหน้า ได้พาลูกเมียและ
บ่าวไพร่จ�านวน ๑๐๐ คน ตั้งบ้านเมืองอยู่ที่ปากแม่น�้าสงครามซึ่งอยู่ในบริเวณพื้นที่
จังหวัดนครพนม แต่หลังจากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ ได้มีการอพยพกลับไปตั้งถิ่นฐาน
อยู่ฝั่งซ้ายแม่น�้าโขงที่เมืองปุงลิง (ปัจจุบันอยู่ในแขวงค�าม่วน สปป.ลาว) และในปี
พ.ศ. ๒๓๗๑ ก็อพยพกลับมาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ของเมืองหงสา เมืองไชยบุรี
๑
ในแขวงไชยบุรี สปป.ลาว ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๓๗๖ เจ้าเมืองหลวงปุงลิงได้พา ๑. ประเพณีไหลเฮือไฟ เป็นประเพณีส�ำคัญของ
ครอบครัวและบ่าวไพร่ข้ามแม่น�้าโขงมาประเทศไทยโดยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ชำวญ้อ ต�ำบลท่ำขอนยำง เมืองกันทรวิชัย
จังหวัดมหำสำรคำม
เจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งถิ่นฐานที่เมืองท่าอุเทน ปัจจุบันเป็นอ�าเภอท่าอุเทน
จังหวัดนครพนม ๒. กำรแสดงของชำวไทยย้อ ในวันไหลเรือไฟ
ส่วนหัวหน้าของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้ออีกกลุ่มหนึ่ง คือ พระค�าก้อน เจ้าเมืองค�า ที่บ้ำนท่ำขอนยำง
เกิด สปป.ลาวได้ขอสวามิภักดิ์ต่อกรุงสยาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. ๒๓๗๙ และในปี พ.ศ. ๒๓๘๒ ได้อพยพมามาตั้งถิ่นฐานที่
66