Page 71 - E-Book Culture 02_20182
P. 71

มื่อเล่อ = เมื่อใด/เมื่อไร เช่น เจา คึ้น เฮือน มื่อเล่อ =

           คุณขึ้นบ้านใหม่เมื่อใด
               กะเล่อ = ที่ไหน / ไหน เจา ซิ ไป กะเล่อ = คุณจะไปไหน
           ค�าศัพท์ที่ใช้ในประโยคค�าถามเกี่ยวกับบุคคล ใช้ค�าว่า เผอ =
           ใคร เผอเลอ = ใคร สามารถใช้ทั้งขึ้นต้น และลงท้ายประโยค เช่น
                 เผอ มา ห่า ข้อย = ใครมาหาฉัน

                 เผอเลอ เอิ้น ข้อย = ใครเรียกฉัน
                 เฮือน ของ เผอเลอ = บ้านของใคร
                 เผอ มา เฮ็ด ปะ เตอ = ใครมาท�าอะไร
               จากตัวอย่างข้างบนจะพบว่า การเรียงประโยคจะมีลักษณะ
           ที่เป็น ประธาน-กริยา-กรรม
               อย่างไรก็ตาม ภาษาญ้อในแต่พื้นที่มีการใช้ค�าศัพท์หรือ

           ส�าเนียงทั้งที่เหมือนและแตกต่างกันออกไป ค�าพื้นฐานส่วนใหญ่
           เป็นค�าเดียวกัน แต่มีค�าศัพท์บางหมวดที่ใช้แตกต่างกันตามการ
           ปฏิสัมพันธ์กับคนกลุ่มอื่นที่อยู่รอบข้าง ซึ่งอาจจะเป็นปัจจัยหนึ่ง
           ที่ท�าให้ภาษาญ้อแตกต่างกันตามถิ่นที่อยู่อาศัย เช่น ค�าว่า

           เท้าแพลง ภาษาญ้อสกลนครเรียกกว่า ตีน-ขะหล่อย ภาษาญ้อ
           นครพนม เรียกว่า ตีน-พิก-โบก เป็นต้น
                                                                เรือไฟของชำวญ้อ เป็นกระทงดอกไม้ ท�ำเป็นรูปเรือยำวสวยงำม

                                                                สภาวการณ์ภาษาและวัฒนธรรม


                                                                     ภาษาเป็นสิ่งหนึ่งที่สะท้อนตัวตนของคน เมื่อคนมีการ
                                                                ติดต่อสื่อสารกัน ก็จะซึมซับและส่งผ่านภาษาและวัฒนธรรมซึ่ง
                                                                กันและกัน ภาษาที่มีบทบาทมากกว่า มีคนใช้มากกว่า ก็จะกลืน

                                                                กลายภาษาเล็กๆ ภาษาญ้อก็เช่นกันที่อยู่ท่ามกลางภาษาไทย
                                                                อีสาน จึงรับภาษาไทยอีสานเข้ามาใช้ในชีวิตประจ�าวัน และรับ
                                                                ภาษาไทยมาตรฐานผ่านการศึกษาและสื่อต่างๆ ส่งผลให้ผู้ที่พูด
                                                                ภาษาญ้อเริ่มมีจ�านวนลดน้อยลงไปเรื่อยๆ จนถึงขั้นวิกฤต แม้ว่า
                                                                จะมีการใช้ภาษาญ้อในชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ต่างๆ ดังกล่าวแล้ว
                                                                ก็ตาม ดังนั้นการฟื้นฟูและอนุรักษ์ภาษาญ้อจึงเป็นสิ่งที่จ�าเป็น



                                                                การเฝ้าระวังและสงวนรักษา

                                                                     ด้วยความตระหนักในสถานการณ์วิกฤตทางภาษาและ
                                                                วัฒนธรรม หน่วยงานต่างๆ จึงได้ร่วมกันฟื้นฟูและอนุรักษ์
             “ฮำกเหง้ำเผ่ำพันธุ์ญ้อ ท่ำขอนยำง” หนังสือประจ�ำหมู่บ้ำน
                                                                ทั้งที่เป็นงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และกิจกรรมเสริมสร้าง
                                                                ให้เกิดความส�านึกในการอนุรักษ์ภาษา ดังที่กลุ่มชาติพันธุ์ญ้อ

                                                                                               เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑  69
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76