Page 73 - E-Book Culture 02_20182
P. 73

ท่าขอนยาง  อ�าเภอกันทรวิชัย  จังหวัด
           มหาสารคาม จัดให้มีโครงการหลายประเภท
           เพื่อการฟื้นฟูและการอนุรักษ์ภาษาญ้อ เช่น
           โครงการวิจัยเรื่อง การฟื้นฟูและการอนุรักษ์
           ภาษา ต�านาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และการ

           ละเล่นพื้นบ้านญ้อ บ้านท่าขอนยาง ต�าบลขาม
           เรียง อ�าเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
           การจัดศาลาวัฒนธรรมญ้อสร้างขึ้นเป็นศูนย์รวม
           วัฒนธรรมญ้อ ชุมนุมวัฒนธรรมญ้อก่อตัวขึ้นมา
           ในโรงเรียน ประเพณีไหลเรือไฟได้รับการฟื้นฟู

           การละเล่นญ้อปรากฏอยู่ในลานวัด จัดท�าป้าย
           แหล่งวัฒนธรรมญ้อ และร่วมสร้างอาคารศูนย์
           การเรียนรู้วัฒนธรรมญ้อท่าขอนยาง ปฏิบัติการ
           ทางสังคมของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อเพื่อการ
           อนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมและภาษาของ
           ตนเองท่ามกลางการสูญหายไปของภาษาและ

           วัฒนธรรม
               นอกจากนี้ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม
           กระทรวงวัฒนธรรมเล็งเห็นความส�าคัญของ
           ภาษาญ้อ จึงได้ยกระดับภาษาญ้อขึ้นเป็นมรดก

           ทางสังคม โดยการประกาศขึ้นบัญชีเป็นมรดก
           ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ เมื่อวันที่ ๙
           กันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๗ เพื่อจะได้
           สนับสนุนและเสริมแรงใจให้กลุ่มชาติพันธุ์ญ้อ
           ได้ร่วมสร้างส�านึก อนุรักษ์ และฟื้นฟูวัฒนธรรม
           ของตนเองต่อไป





             เอกสารอ้างอิง
               จ�ำรูญ พัฒนศร. (๒๕๒๑). ประวัติเมืองอรัญ (ตอนที่ ๑). ปรำจีนบุรี :    นันตพร นิลจินดำ. (๒๕๓๒). กำรศึกษำเรื่องศัพท์ภำษำญ้อใน
                  โรงพิมพ์ประเสริฐศิริ.                               จังหวัดสกลนคร นครพนม และปรำจีนบุรี. วิทยำนิพนธ์ ศศ.ม.
               บัญญัติ สำลี. (๒๕๕๔). ฮำกเหง้ำเผ่ำพันธุ์ ญ้อ บ้ำนท่ำขอนยำง :       กรุงเทพฯ : , มหำวิทยำลัยศิลปำกร.
                  มุมมองด้ำนภำษำ ต�ำนำนประวัติศำสตร์ท้องถิ่นและกำรละเล่น   ปิ่นกนก ค�ำเรืองศรี. (๒๕๔๕). กำรแบ่งกลุ่มภำษำญ้อโดยใช้ระบบเสียง
                  พื้นบ้ำนญ้อ ผ่ำนงำนวิจัยเพื่อท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: วนิดำกำรพิมพ์.     วรรณยุกต์เป็นเกณฑ์. กำรค้นคว้ำอิสระ กศ.ม. มหำสำรคำม :
               ทีมวิจัยไทญ้อ. (๒๕๕๑). รำกเหง้ำเผ่ำพันธุ์ญ้อท่ำขอนยำง. มหำสำรคำม       มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม.
                  : งำนบริกำรวิชำกำร โครงกำรรูปแบบกำรพัฒนำชุมชนรอบ   พรวลี เข้มแข็ง. (๒๕๔๕). กำรศึกษำเสียงวรรณยุกต์ภำษำญ้อในผู้พูด
                  มหำวิทยำลัยอย่ำงยั่งยืน มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม.       ที่มีอำยุต่ำงกัน บ้ำนท่ำขอนยำง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัด
               ธนำนันท์ ตรงดี และคณะ. (๒๕๕๐). กำรฟื้นฟูและกำรอนุรักษ์ภำษำ      มหำสำรคำม. กำรศึกษำค้นคว้ำอิสระ (กศ.ม. ภำษำไทย)”
                  และวัฒนธรรมญ้อท่ำขอนยำง. รำยงำนกำรวิจัยฉบับสมบูรณ์    พระสุขุม มัชชิกำนัง. (๒๕๔๒). ลักษณะค�ำและกำรเรียงค�ำในภำษำญ้อ
                  มหำสำรคำม : คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัย      หมู่บ้ำนท่ำขอนยำง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหำสำรคำม.
                  มหำสำรคำม.                                          วิทยำนิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ : มหำวิทยำลัยศิลปำกร.


                                                                                               เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑  71
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78