Page 70 - E-Book Culture 02_20182
P. 70

ศำลปู่ตำญ้อ ในหมู่บ้ำนท่ำขอนยำง




          ในที่นี้จะขอกล่าวถึงระบบเสียงในภาพรวม ดังนี้ พยัญชนะได้แก่     วรรณยุกต์ ได้แก่ วรรณยุกต์ที่ ๑ (ต�่า-ขึ้น) วรรณยุกต์ที่ ๒
          /ก ค ง จ ซ ญ ด ต ท น บ ป พ ฟ ม ย ล ว อ ฮ/ หน่วย      (กลางระดับ, กลาง-ขึ้น) วรรณยุกต์ที่ ๓ (ต�่า-ตก, กลาง-ตก)
          เสียงทั้งหมดนี้ปรากฏในต�าแหน่งพยัญชนะต้นได้ทั้งหมด และ  วรรณยุกต์ที่ ๔ (สูง-ขึ้น-ตก, กลาง-ขึ้น-ตก) อย่างไรก็ตามวรรณ

          หน่วยเสียงที่เป็นพยัญชนะท้าย ได้แก่ /-ก -ง -ด -น -บ -ม  ยุกต์ภาษาญ้อจะแตกต่างไปตามท้องถิ่นต่างๆ
          -ย -ว/ รวมถึงเสียงกักที่เส้นเสียงข้างท้ายพยางค์ที่มีสระเสียงสั้น     ลักษณะที่โดดเด่นอีกประการหนึ่งก็คือ ค�าแสดงค�าถามซึ่ง
              สระเดี่ยว ได้แก่ /อิ, อี, เ-ะ, เ, แ-ะ, แ , อึ, อื, เ-อะ, เ-อ,  เป็นการใช้ค�าที่แตกต่างจากภาษาไทยกลางและไทยอีสาน
          อะ, อา, อุ, อู, โ-ะ, โ-, เ-าะ, ออ/ สระบางตัวของภาษานี้มีความ  ตัวอย่าง เช่น
          แตกต่างจากภาษาไทยกลางและไทยอีสาน เช่น  เสียงสระ เออ       เตอ/เบอะเตอ = อะไร  เช่น นั่นเตอ / นั่นเบอะเตอ =

          ของค�าที่ตรงกับเสียงสระ ใ –ของภาษาไทยอีสานและไทยกลาง  นั่นอะไร เจ้า เฮ็ดเตอ / เจ้า เฮ้อ เบอเต๋อ = คุณท�าอะไร
          เช่น หัวเจ๋อ = หัวใจ เฮอ = ให้ ผู้เญ่อ = ผู้ใหญ่ ลูกเพ่อหรือ     เฮ็ดเตอ = ท�าไม เช่น ถาม ข้อย เฮ็ด เตอ = ถามฉันท�าไม
          ลูกพ่อ = ลูกสะใภ้ เส้อ = ใส่ เบ๋อ = ใบไม้ เม่อ = ใหม่ เสอ =  เล่อ เล่อ / จั้งเลอ = อย่างไร เช่น เขา เว่อ เลอ เล่อ = เขาพูด
          ใส เตอ = ใต้ เกอ = ใกล้ เญ่อ = ใหญ่ เน้อ = ใน        อย่างไร แม่ ซิ เฮ็ด เลอ เล่อ = แม่จะท�าอย่างไร เจา ซิ เว่า จั้ง
              สระประสม ได้แก่ /เอีย, เอือ, อัว/                เลอ = คุณจะพูดอย่างไร


     68
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75