Page 69 - E-Book Culture 02_20182
P. 69
๒
เมืองท่าขอนยาง ปัจจุบันเป็น ต�าบลท่าขอนยาง อ�าเภอกันทรวิชัย เรียกว่า “ไหลเฮือไฟ” นอกจากนี้ ยังมีวัฒนธรรมการละเล่น
จังหวัดมหาสารคาม ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อ คือ หมากโข่งโหล่ง
จากงานวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อของ บัญญัติ สาลี หมากต่อไก่ หมากนู่เนียม ปาบึกแล่นมาฮาด หม่อจ�้าหม่อมี และ
และคณะ (๒๕๕๑) พบจารึก ๒ แผ่นที่เป็นหลักฐานการตั้งถิ่นฐาน หมากอีหมากอ�า การละเล่นแต่ละประเภทจะมีวิธีการเล่นและมี
ของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อในหมู่บ้านท่าขอนยาง คือ จารึกใบเสมา เพลงประกอบการละเล่นด้วย เช่น การละเล่นหม่อจ�้าหม่อมี
และจารึกบนฐานพระพุทธรูปซึ่งพบที่วัดมหาผล บ้านท่าขอนยาง มีเพลงประกอบว่า จั้มหม่อมี่มาจี่หม่อหม่น หักคอคนเซอหน้า
ต�าบลท่าขอนยาง อ�าเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ในจารึก นกกด หน้านกกดหน้าลิงหน้าลาย หน้าผีพายหน้ากิกหน้าก่อม
ทั้ง ๒ หลักได้กล่าวถึงเจ้าเมืองท่าขอนยาง นามว่า พระสุวรรณ หน้ากิก (หน้าสั้น) หน้าก่อม (หน้ากลม) ยอมแยะแตะปีกผึ่งวะ
ภักดี ซึ่งเป็นหัวหน้ากลุ่มชาติพันธุ์ญ้อได้สร้างพัทธสีมาและ ผึ่งวะ (ซ�้าตั้งแต่ต้นไปเรื่อยๆ) เป็นต้น
พระพุทธรูปในจุลศักราช ๑๒๒๒ นอกจากจะนับถือศาสนาพุทธ
แล้ว คนญ้อยังมีความเชื่อเรื่องเหนือธรรมชาติ เคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ลักษณะภาษาญ้อ
นับถือผีฟ้า ผีเฮือน อีกด้วย
ภาษาญ้อเป็นภาษาประจ�ากลุ่มชาติพันธุ์ญ้อ เป็นภาษาที่
ส�าคัญภาษาหนึ่งในภาคอีสาน เนื่องจากกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อมี
ประเพณีและการละเล่นของญ้อ ประวัติความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และภาษาเป็น
กลุ่มชาติพันธุ์ญ้อในประเทศไทยมีวัฒนธรรมคล้ายคลึง เอกลักษณ์เฉพาะตน กล่าวคือ มีความแตกต่างจากภาษาไทย
กับคนไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาก ประเพณีที่ถือว่า กลางหรือภาษาไทยอีสานในเรื่องของค�า เสียงสระและวรรณยุกต์
เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อคือประเพณี ระบบเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ของภาษาญ้อ
ไหลเรือไฟในวันขึ้น ๑๕ ค�่าเดือน ๑๑ หรือวันออกพรรษา ในแต่ละพื้นที่จะมีความแหมือนหรือแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 67