Page 80 - Culture1-2018
P. 80
ผลงานของครูควน ทวนยก พื้นบ้าน ทั้งโนราและหนังตะลุง จนนายปี่ด้วยกันก็ยกย่องให้เป็น
ท่านสร้างผลงานด้วยใจทั้งที่ไม่มีความรู้ภาคทฤษฎีดนตรี ครูปี่ที่มีความหวาน แม้แต่ศิลปินแห่งชาติ อย่างโนรายก ชูบัว
ทุกครั้งที่สร้างสรรค์งานจะประสานกลมกลืนกับการแสดงที่คิดขึ้น ยังเคยเอ่ยปากว่า “ได้ยินเสียงปี่ของควนแล้วใจมันรึบ ๆ อยากจะ
ใหม่เฉพาะการของทุกหน่วยงานที่ขอมา ซึ่งครูควนมีวิธีสร้างสรรค์ ร�าจัง”
ผลงานอยู่ ๓ ลักษณะคือ ๑ คิดใหม่ขึ้นเองทั้งหมด ๒ น�าเพลง เทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์ผลงานประเภทเพลงประกอบ
เก่ามาสร้างสรรค์ใหม่ ๓ เกิดจากการผสมผสานเพลงเก่ากับ ระบ�า ของครูควน คือใช้วิธีการบรรจุท�านองเพลงตามลักษณะ
ความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ท่านได้เขียนเอกสารประกอบการสอน ของท่าร�า โดยยึดความสอดคล้องของท�านองเพลงและท่าร�าเป็น
ที่เกี่ยวกับดนตรีไว้ ๔ เล่ม ได้แก่ หลัก ส่วนท�านองเพลงที่น�ามาใช้นั้น คัดเลือกมาจากท�านองเพลง
• เครื่องดนตรีประกอบการแสดงหนังตะลุงและมโนห์รา เก่าที่ใช้ประกอบการแสดงหนังตะลุงและโนราในอดีต ซึ่งใน
• ดนตรีพื้นบ้านภาคใต้กับการแสดงภาคใต้ ปัจจุบันไม่ค่อยมีผู้น�ามาบรรเลงแล้ว การน�าท�านองเพลงเก่ามาใช้
• อนุรักษ์เพลงดนตรีประกอบการแสดงในสมัยก่อนของหนังตะลุง บรรเลงประกอบระบ�า จึงเป็นการสืบทอดเพลงดังกล่าวไม่ให้
• หนังสือดนตรีโนรา จัดพิมพ์โดยส�านักศิลปะและวัฒนธรรม สูญหายไป นอกจากนั้น ยังได้คัดสรรท�านองเพลงที่มีส�าเนียงแขก
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เพื่อแสดงออกถึงความเป็นดนตรีท้องถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต้
ส่วนบทหนังตะลุงท่านก็ได้ประพันธ์ไว้ใช้ส�าหรับฝึกหัด ท�าให้บทเพลงต่าง ๆ เหล่านั้นมีกลิ่นอายของวัฒนธรรมพุทธและ
นักศึกษา ได้แก่ ท�าดีได้ดี ท�าชั่วได้ชั่ว • คู่กันแล้วคงไม่แคล้วกัน มุสลิมผสมผสานอยู่ด้วยกัน ผลงานของท่านล้วนเป็นที่ยอมรับและ
ปริศนาหารัก • หารักจากพวงมาลัยทอง • เสียงสวรรค์ • อักษร ได้รับความนิยมน�าไปแสดงในวงกว้างอย่างต่อเนื่อง
ประกาศิต เป็นต้น นอกจากนั้นท่านยังได้เป่าปี่บันทึกเสียง
เพื่อการแสดงเป็นประจ�าและยังได้บันทึกเสียงปี่เผยแพร่ไว้ใน เดินทางไปแสดง ณ ประเทศกรีซ พ.ศ. ๒๕๔๙
รูปแบบของซีดี มีจ�านวน ๓ ชุด ได้แก่ ๑. ปี่ครวญ ๒. เพลงระบ�า
นาฏยรังสรรค์ ราชภัฏสงขลา ๓. เพลงปี่หนังตะลุง
ผลงานของครูควน ได้รับการยกย่องว่าเป็นผลงานที่มี
เอกลักษณ์ โดยเฉพาะทางด้านปี่หนังตะลุงและปี่โนรา ที่มีการ
สร้างสรรค์เพลงขึ้นใหม่กว่า ๕๐ เพลง โดยเฉพาะเพลงในชุด
ระบ�านาฏยรังสรรค์ ของโปรแกรมวิชานาฏศิลป์และการละคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไม่เพียงเท่านั้นท่านยังสร้างเทคนิค
วิธีการขึ้นปี่ที่มีส�าเนียงไพเราะ ซึ่งมีคุณค่าต่อศิลปะด้านการแสดง
เดินทางไปแสดงที่รัสเซีย พ.ศ. ๒๕๔๘ เดินทางไปแสดง ณ ตุรกี พ.ศ. ๒๕๕๐
78