Page 19 - Culture1-2018
P. 19

การแสดงโนราที่เป็นงานบันเทิงทั่วๆ ไป แต่ละครั้ง แต่ละคณะจะมี

                                                        ล�าดับการแสดงที่เป็นขนบนิยม โดยเริ่มจากปล่อยตัวนางร�าออกร�า (อาจมี
                                                        ผู้แสดงจ�านวน ๒-๕ คน) ซึ่งมีขั้นตอน คือ เกี้ยวม่าน หรือขับหน้าม่าน
                                                               เป็นการขับร้องบทกลอนอยู่ในม่านกั้นโดยไม่ให้เห็นตัว ออกร่ายร�า
                                                                  แสดงความช�านาญและความสามารถในเชิงร�าเฉพาะตัว
                                                                   นั่งพนัก ว่าบทร่ายแตระ แล้วท�าบท (ร้องบทและตีท่าร�า
                                                                   ตามบทนั้นๆ) ว่ากลอน เป็นการแสดงความสามารถ

                                                                 เชิงบทกลอน (ไม่เน้นการร�า) ถ้าว่ากลอนที่แต่งไว้ก่อน
                                                        เรียกว่า “ว่าค�าพรัด” ถ้าเป็นผู้มีปฏิภาณมักว่ากลอนสด เรียกว่า
                                                        “ว่ามุดโต” และร�าอวดมืออีกครั้ง แล้วเข้าโรง
                                                             ออกพราน คือ ออกตัวตลก เป็นผู้มีความส�าคัญ ในการสร้าง

                                                        บรรยากาศการแสดงให้ครึกครื้น
                                                             ออกตัวนายโรง หรือโนราใหญ่ นายโรงจะอวดท่าร�าและการขับ
                                                        บทกลอนเป็นพิเศษให้สมแก่ฐานะที่เป็น นายโรง ในกรณีที่เป็นการแสดง
           ๓                                            ประชันโรง โนราใหญ่ จะท�าพิธีเฆี่ยนพราย และเหยียบลูกนาว เพื่อเป็นการ
                                                        ตัดไม้ข่มนามคู่ต่อสู้ และเป็นก�าลังใจแก่ผู้ร่วมคณะของตนด้วย
           ๑. การประกอบพิธีกรรม                              ปัจจุบันการแสดงโนรายังคงมีการแสดงทั้ง ๒ รูปแบบ ทั้งเพื่อความ
             ไหว้ครูในโนราโรงครู                        บันเทิงและการร�าในพิธีกรรม คุณค่าของโนรา นอกจากเครื่องแต่งกายและ
           ๒. การเล่นเป็นเรื่อง                         ท่าร�าที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะแล้ว โนรายังท�าหน้าที่เป็น “สื่อ”
             ในโนราโรงครู
           ๓. ออกพราน หรือตัวตลก                        เผยแพร่ให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ให้ประชาชนได้รับทราบอย่างทั่วถึง และ
             สร้างรอยยิ้ม หรือ                          เข้าถึงชาวบ้านได้ง่าย โนราจึงเป็นศิลปะการ
             สร้างบรรยากาศ                              แสดงของชาวภาคใต้ที่ยังคงครองความนิยม
             การแสดง
                                                        ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงในโลก
                                                        ปัจจุบันได้ดีตามสมควร




                                         โนรา ความเชื่อ และพิธีกรรม
               โนรา นอกจากเป็นศิลปะการแสดง ที่สร้างความบันเทิงแล้ว  และการร�าถวายมือของการแสดงทั้งหลายในภาคกลาง

           โนรา ยังเป็นการแสดงที่มีพิธีกรรมขรึมขลังที่แฝงไว้ด้วยความเชี่อ     ในวันนี้ นักแสดงโนราอาชีพยังมีอยู่มากมายหลากหลายคณะ
           และวิถีปฏิบัติ มีขนบแบบแผน มีความเชื่อเรื่องจิตวิญญาณ    กระจายอยู่ทั่วทุกจังหวัดในภาคใต้ และยังมีอีกจ�านวนมากมาย
           โดยเฉพาะวิญญาณบรรพบุรุษ ที่เรียกว่า ตายายโนรา หรือตาหลวง  หลายรัฐในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเปอร์ลิส กลันตัน ตรังกานู
           ซึ่งอาจให้คุณและโทษได้ส�าหรับการปฏิบัติตัวต่างๆ ของศิษย์โนรา และไทรบุรี ซึ่งมีชาวมาเลเซีย เชื้อสายไทยอาศัยอยู่ร่วมด้วย
           ทั้งหลาย ดังนั้นเมื่อมีการประกอบพิธีส�าคัญคือ โนราโรงครู    นอกจากนั้นในสถานการศึกษาต่างๆ ก็รวบรวมครูและจัดตั้งคณะ
           เจ้าภาพที่เป็นลูกหลานตายายแต่ละสายได้ก�าหนดการจัดงาน  โนราขึ้นเพื่อด�ารงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมซึ่งบรรพบุรุษได้สร้างสรรค์
           ขึ้นแล้ว ก็จะมีลูกหลานและศิษย์โนราพากันเข้ามาร่วมงานด้วย ไว้ให้ด�ารงคงอยู่ต่อไป และได้รับความสนใจจากคนหนุ่มสาว
           เป็นจ�านวนมาก และในรายการส�าคัญนี้ จะมีโอกาสได้เห็น  รุ่นใหม่เป็นจ�านวนมาก โนราไม่เคยตาย ไม่เคยสูญหายไปจาก
           การแสดงอย่างเต็มฝีมือของโนราเก่งๆ ในสายครูเดียวกันทั้งหลาย  ดินแดนใต้ และจะด�ารงคงอยู่เป็นสัญลักษณ์ส�าคัญของภาคใต้
           เป็นการแสดงอวดฝีมือที่มีลักษณะใกล้เคียงกับการจัดงานไหว้ครู ไปตลอดกาล

                                                                                                มกราคม
                                                                                                มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑ - มีนาคม ๒๕๖๑  17 17
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24