Page 18 - Culture1-2018
P. 18

การร�าโนราแต่ละตัวต้องร�าอวดความสามารถและความช�านาญ
          เฉพาะตน โดยการร�าในท่าร�าต่างๆ ให้ถูกต้องแข็งแรงสวยงาม
          เหลี่ยมมุมโดยเฉพาะการตั้งวงโนราต้องคมชัด การเชื่อมต่อท่าร�า
          ต่างๆ ต้องแคล่วคล่องสวยงาม ถูกต้องตามจังหวะดนตรี และ
          ต้องร�าให้สวยงามอ่อนช้อยกระฉับกระเฉง  บางคนอาจอวด
          ความสามารถในเชิงร�าเฉพาะด้าน เช่น การเล่นแขน การท�า

          ตัวอ่อน การเล่นกับเครื่องแต่งตัวบางชิ้น เช่น การเล่นเสียง
          ก�าไลมือ เป็นต้น และโดยเฉพาะการร�ารวมหมู่ท�าท่าพลิกแพลง
          ต่างๆ เช่น ท่าพระจันทร์ทรงกลด เป็นต้น
              การร้องโนรา เป็นอีกขั้นตอนหนึ่งของการจัดแสดงโนรา
          ไม่ใช่ว่า นักแสดงโนราทุกตัวจะร้องโนราได้ดี การร้องโนรา

          ผู้ร้องจะต้องอวดลีลาการร้อง ขับบทกลอนในลักษณะต่างๆ เช่น
          เสียงไพเราะดังชัดเจน จังหวะการร้องขับถูกต้องเร้าใจ มีปฏิภาณ
          ในการคิดกลอน รวดเร็ว ได้เนื้อหาดี สัมผัสดี มีความสามารถ
          ในการร้อง โต้ตอบ แก้ค�าอย่างฉับพลันและคมคาย เป็นต้น
              การท�าบท  เป็นการร้องและร�าโนราเป็นเรื่องราว ที่มีความ
          น่าสนใจตรงที่ผู้ร้องมีปฏิภาณไหวพริบมีความสามารถ

          ในการตีความหมายของบทร้องเป็นท่าร�า ให้ค�าร้องและท่าร�า   ๒



                                                               สัมพันธ์กัน มีการตีท่าร�าให้พิสดารหลากหลายและครบถ้วน
                                                               ตามค�าร้องทุกถ้อยค�า ต้องขับบทร้องและตีท่าร�าให้ประสม
                                                               กลมกลืนกับจังหวะและลีลาของดนตรีอย่างเหมาะเหม็ง การท�า
                                                               บทจึงเป็นศิลปะสุดยอดของโนรา
                                                                    การร�าเฉพาะอย่าง นอกจากโนราแต่ละคน จะต้องมี
                                                               ความสามารถในการร�า การร้อง และการท�าบท ดังกล่าวแล้ว

                                                               ยังต้องฝึกการร�าเฉพาะอย่างให้เกิดความช�านาญเป็นพิเศษด้วย
                                                               ซึ่งการร�าเฉพาะอย่างนี้ อาจใช้แสดงเฉพาะโอกาส เช่น ร�าในพิธี
                                                               ไหว้ครู ในพิธีแต่งพอกผูกผ้าใหญ่ บางอย่างใช้ร�าเฉพาะเมื่อมีการ
                                                               ประชันโรง บางอย่างใช้ในโอกาสร�าลงครูหรือโรงครู หรือในการ
                                                               ร�าแก้บน เป็นต้น ตัวอย่างการร�าเฉพาะอย่าง เช่น ร�าบท

                                                               ครูสอน ร�าเพลงทับ เพลงโทน ร�าเพลงปี่ ร�าขอเทริด ร�าคล้องหงส์
                                                               เป็นต้น
                                                                    การเล่นเป็นเรื่อง โดยปกติโนราไม่เน้นการเล่นเป็นเรื่อง
                                                               แต่ถ้ามีเวลาแสดงมากพอ อาจมีการเล่นเป็นเรื่อง ให้ดูเพื่อความ
                                                               สนุกสนาน โดยเลือกเรื่องที่รู้ดีกันแล้วบางตอนมาแสดง ไม่เน้น
                                                               การแต่งตัวตามเรื่องแต่จะเน้นความตลก และการขับบทกลอน
           ๑                                                   แบบโนราให้ได้เนื้อหาตามท้องเรื่อง


     16
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23