Page 22 - Culture1-2018
P. 22

ออกไปเดินต่อไปดูเขาเล่น “รองเกง” กันเป็นหมู่แรกสองวง    สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทอดพระเนตร
          ทีหลังแยกออกเป็น ๓ วง มีผู้หญิงวงละ ๓ คน มีพิณพาทย์ส�ารับ    และร่วมถ่ายภาพกับนักแสดงรองเง็ง คณะอัสลีมาลา

          หนึ่ง คือ รนาทราง ๑ ซอคัน ๑ ฆ้องราง ๑ ฆ้องใบใหญ่ ๑ บ้าง
          ๒ ใบบ้าง กลองรูปร่างเหมือนกลองชนะแต่อ้วนกว่าสักหน่อยหนึ่ง  ประเภทของรองเง็ง

          มีสองหน้าเล็กๆ อัน ๑ ผู้หญิงร้องรับพิณพาทย์ ผู้ชายเข้าร�าเป็นคู่     ส�าหรับรองเง็งในประเทศไทย นักวิชาการสรุปรูปแบบการ
          แต่ผลัดเปลี่ยนกัน ดูท่าทางเป็นหนีไล่กันอย่างไรอยู่ ผู้หญิงไม่ใคร่ แสดงออกเป็น ๓ ประเภท คือ
          จะร�าเป็นแต่ร้องมากกว่า แต่ผู้ชายร�าคล้ายๆ ท่าค้างคาว     ๑. รองเง็งราชส�านัก นิยมแสดงกันในพื้นที่จังหวัดปัตตานี

          กินผักบุ้ง ที่ตลกร�ามีตะเกียงปักอยู่กลางดวงหนึ่ง ร�าเวียนไปรอบๆ  ยะลา และนราธิวาส เป็นการบรรเลงดนตรีประกอบการแสดง
          ตะเกียง พอรัวกลองผู้ชายเข้าไปจูบผู้หญิงๆ ก็นิ่งเฉย ไม่เห็น ไม่มีการขับร้อง แต่จะมีความหลากหลายเรื่องเครื่องดนตรีที่ใช้
          บิดเบือนปัดป้องอันใด (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า  บรรเลงประกอบการแสดง
          เจ้าอยู่หัว. ๒๕๕๕ : ๑๐๗)                                 ๒. รองเง็งชาวเล นิยมแสดงกันในกลุ่มชาวเลอูรักลาโว้ย
              จากบทพระราชนิพนธ์ดังกล่าวท�าให้เข้าใจถึงลักษณะของ ซึ่งอาศัยอยู่ในแถบพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามัน โดยเฉพาะ
          การแสดงรองเง็งในอดีต และปรากฏหลักฐานของการแสดง พื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และเกาะสิเหร่ จังหวัดภูเก็ต

          รองเง็งในคาบสมุทรมลายูมาตั้งแต่สมัย รัชกาลที่ ๕ จากนั้น  เป็นการแสดงที่ยังคงรักษาขนบธรรมเนียมการแสดงแบบ
          การแสดงรองเง็งก็ได้รับความนิยม และแพร่หลายเข้าสู่พื้นที่  ดั้งเดิม คือ มีการร้องโดยใช้บทปันตุนภาษามลายู การเต้น-ร�า
          ภาคใต้ของประเทศไทย                                   และการบรรเลงดนตรี

     20
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27