Page 16 - Culture1-2018
P. 16

๒





                                                                    การตั้งวงโนรา ไม่ใช่วงนั้น วงนี้ หรือกลุ่มนั้น กลุ่มนี้ แต่
                                                               การตั้งวงโนรา คือการตั้งท่า หรือตั้งท่าทาง การวางอวัยวะต่างๆ
                                                               ของร่างกายในลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากศิลปะการแสดง
                                                         ๑     ของไทยประเภทอื่นๆ โนราตั้งวงเป็นท่าตั้งเหลี่ยม ล�าตัวตั้งตรง

                                                               ย่อเข่า ไหล่ แขน ข้อมือ มีกระบวนการใช้มือ เท้า เอว ไหล่ คอ
              เพลงโนรา เป็นเพลงร้อง มีบทพูดแทรก เหมือนการอ่าน  ใบหน้า กระทั่งการกรีดนิ้ว และการใช้ปลายเท้า มีลักษณะการ
          ท�านองเสนาะของบทกวี กลอนที่ใช้ในการร้องมี ๒ ลักษณะ คือ   เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปต่างๆ ตามลักษณะเฉพาะของโนรา
          กลอนผูก ในบทกลอนผูกยังมีอีก ๒ อย่าง อย่างแรกเป็นบทร้อง  เอง ท่าร�าที่เคลื่อนตัวเองด้วยปลายเท้านี้ ขุนอุปถัมภ์นรากร พุ่ม
          ประจ�าที่ใช้สืบต่อกันมา เช่น บทกาศครู หรือ บทครูสอน อย่าง  เทวา ครูโนราส�าคัญท�าได้งดงามมาก กล่าวกันว่า สวยงามดัง
          ข้างต้น และอย่างที่สอง คือบทที่ผูก หรือแต่งขึ้นใหม่ตามท้องเรื่อง  การลอยตัวลงมาของเทวดา...จนเป็นที่เลื่องลือ

          ที่จะเล่น และบทร้องที่ส�าคัญที่สุด อีกอย่างหนึ่งคือ กลอนด้น     และอีกอย่างหนึ่งซึ่งจะเป็นสากลอย่างยิ่งก็คือ ผู้ร�าโนรา
          หรือ กลอนสด ซึ่งผู้ร้องจะต้องใช้ไหวพริบ หรือปฏิภาณของ  ต้องมีความแข็งแรงมาก เพราะท่าร�าโนรามีจังหวะกระตุกเกร็ง
          ตนเองร้องออกมาอย่างปัจจุบันทันด่วน ซึ่งความสามารถนี้จะ  กล้ามเนื้ออยู่เสมอ หลายท่าร�าจะต้องยืนอยู่ด้วยเท้าข้างเดียวเป็น
          ได้รับความนิยมจากผู้ชมและสร้างความแตกต่างระหว่างคณะ  เวลานาน หลายท่าร�าเป็นการร�าร่วมกัน มีการต่อตัว เหยียบบ่า
          โนราต่างๆ มากเป็นพิเศษ                               เหยียบเข่า ต้องรับน�้าหนักมาก อีกทั้งในโนราหลายกระบวนร�า

              กระบวนร�าโนรา กระบวนท่าร�าโนรามีความสวยงามเป็น   ยังมี โนราตัวอ่อน มีกระบวนร�า แขกเต้าเข้ารัง และพระจันทร์
          เอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นเป็นอย่างยิ่ง ที่ส�าคัญกระบวนท่า  ทรงกลด ซึ่งเป็นการต่อตัวกันหลายๆ ชั้น เป็นต้น
          ร�าโนรานี้ไม่หยุดนิ่ง ครูโนราแต่ละคน แต่ละสาย ต่างก็มีการ     และกระบวนการประสานประสมรวมกันของ ดนตรี บทร้อง
          ประดิษฐ์คิดค้นสร้างท่วงท่าลีลาการร�าที่เป็นกระบวนร�าสอดคล้อง  และกระบวนร�าต่างๆ เหล่านี้เองที่ท�าให้โนรา มีความงดงาม
          ต้องกัน สวยงามเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในแต่ละสายครู หาก  ลงตัวเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ท�าให้โนราเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง
          แต่กระบวนร�าต่างๆ นี้ก็แตกกิ่งก้านสาขาเป็นรากแขนงบนราก  ในดินแดนภาคใต้ และเป็นที่รู้จัก เป็นสัญญลักษณ์ส�าคัญ

          แก้วเดียวกัน คือ การตั้งวงโนรา อันเป็นรากฐานส�าคัญที่สุด  อย่างยิ่งของภาคใต้ที่ใครๆ ต่างรู้จักชื่นชมกันในวันนี้

     14
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21