Page 88 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 88
ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ประกิต บัวบุศย์ เดิมชื่อ จิตร เกิด รับคัดเลือกให้ไปเป็นครูที่นั่น แต่ด้วยสภาพเศรษฐกิจที่ตกต�่าในเวลา
เมื่อวันที่ ๕ เมษายน ๒๔๕๔ ที่บ้านถนนหลวง ข้างโรงพยาบาลกลาง นั้นโครงการดังกล่าวจึงถูกพับ อีกทั้งไม่สามารถท�าเรื่องย้ายกลับมา
กรุงเทพฯ เป็นบุตรของหลวงชาญหัตถกิจ ช่างหลวงในสมัยพระบาท กรุงเทพฯ ได้ ท่านจึงท�างานอยู่ที่เชียงใหม่ไปก่อน กระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๘๓
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะนั้นหลวงชาญหัตถกิจเป็น จึงได้ย้ายกลับมาเป็นครูสอนวาดเขียนที่เพาะช่างเช่นเดิม ช่วงจังหวะ
นายช่างใหญ่ กองลหุโทษ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงนครบาล กล่าว ดังกล่าวครูจิตรมีโอกาสได้ท�างานชิ้นใหญ่คือการท�า “พานรัฐธรรมนูญ
ได้ว่าเด็กชายจิตรคลุกคลีและซึมซับความรู้ด้านงานศิลป์โดยตรงมา หรือพานแว่นฟ้า” ประติมากรรมอันเป็นสัญลักษณ์การเมืองการ
จากบิดา แม้บิดาจะมีความตั้งใจที่ไม่ให้ลูกเป็นช่างอย่างตนก็ตาม ปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย ครูจิตรท�าส�าเร็จเสร็จสิ้นใน
แต่สุดท้ายก็เลิกทัดทาน ระยะเวลา ๘๐ วันซึ่งเร็วกว่าก�าหนด ๑๐ วัน
เมื่อจิตรเรียนจบชั้นมัธยมจึงเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนเพาะช่าง ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๔ ครูจิตรได้รับทุน
อันเป็นสถานศึกษาช่างแห่งเดียวในยุคนั้น จนส�าเร็จการศึกษา การศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการให้เดินทางไปศึกษาต่อ ณ สถาบัน
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๓ และมีโอกาสได้ศึกษาด้านสถาปัตยกรรมไทยจาก วิจิตรศิลป์ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นช่วงที่สถานการณ์ของ
อาจารย์นาถ โพธิประสาท โลกเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ ๒ พอดี แม้ความเป็นอยู่ที่นั่นจะยาก
ในปีถัดมาได้บรรจุเป็นครูวาดเขียนในโรงเรียนเพาะช่าง ซึ่ง ล�าบาก แต่ท่านก็พยายามเรียนรู้และหาประสบการณ์อย่างเต็มที่ใน
เป็นช่วงที่ทางโรงเรียนมีโครงการเปิดสาขาที่เชียงใหม่ ครูจิตรจึงได้ ทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านหัตถกรรม เช่น เครื่องไม้ไผ่ เครื่องรัก
ภาพ ๑ อาจารย์จิตรขณะอายุ ๓๒ ปี ภาพ ๒ ผลงานของ ดร. กมล ทัศนาญชลี ศิลปินแห่งชาติ ชื่อผลงาน “๑๐๐ ปี ประกิต (จิตร) บัวบุศย์, ๒๕๕๓” ประเภทสื่อผสม
ภาพ ๓ อาจารย์จิตรขณะบรรยายให้ลูกศิษย์ฟังที่วัดมหาธาตุ สุโขทัย ภาพ ๔ กับลูกศิษย์ที่วัดมหาธาตุ สุโขทัย ภาพ ๕-๖ งานขุดค้นและศึกษาวิจัยทางโบราณคดี
ที่จังหวัดกาญจนบุรี
๑ ๒
86