Page 8 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 8
สมัยเป็นเด็กต�าราเรียนสอนว่ารายได้หลักของ ก�าเนิดการทองเที่ยวโดยชุมชน
ประเทศไทยมาจากการขายข้าว แร่ดีบุก ไม้สัก และยางพารา
นั่นคงเป็นอดีตเนิ่นนาน...นานจนคนสมัยนี้ไม่อาจเข้าใจได้
เพราะหลายสิบปีมานี้รายได้หลักที่ท�าให้ประเทศไทยยัง สมัยก่อนการที่นักเดินทางจะไปนอนค้างตามหมู่บ้านในชนบท
สามารถเติบโตทางเศรษฐกิจได้นั้นมาจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยว นับเป็นเรื่องปกติ หากแต่ในโลกปัจจุบัน การเกิดขึ้นของสถานบริการ
บางคนอาจกล่าวว่าอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นรายได้ ที่พักมีแทบทุกเมืองในโลกนี้ ท�าให้การไปพักค้างคืนกับชาวบ้าน
ที่ไม่ต้องลงทุนสิ่งใดเลย ไม่ต้องหาวัตถุดิบ ไม่ต้องมีโรงงาน ท้องถิ่นนั้นอาจไม่สะดวกเท่าไรทั้งฝ่ายเจ้าของบ้านและผู้มาเยือน
ถ้าจะลงทุนก็น้อยมาก แค่แรงงานเพียงเท่านั้น และเก็บรักษา หลังวิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ. ๒๕๔๐ รัฐบาลไทยใช้การท่องเที่ยว
สิ่งสวยงามไว้ แค่นี้ก็ดึงดูดคนมาเที่ยวได้แล้ว นี่นับว่าเป็นความ เป็นตัวกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยประกาศให้ปี พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๒ เป็นปี
เข้าใจที่คลาดเคลื่อน ส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย หรือที่รู้จักติดปากว่า Amazing Thailand
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เกิดโครงการหนึ่งต�าบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (One
เพราะแท้จริงแล้วการรักษาคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ไม่ว่ามรดก Tambon One Product : OTOP) ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้นักท่องเที่ยว
ทางธรรมชาติ หรือมรดกทางวัฒนธรรม ไม่ว่ามรดกที่จับต้องได้หรือ หาซื้อผลิตภัณฑ์จากชุมชนเป็นของฝากของที่ระลึก กระทั่งในปี
จับต้องไม่ได้ เป็นสิ่งซึ่งต้องรักษาไว้ไม่ให้เสื่อมโทรมไปจากที่เคยเป็น พ.ศ. ๒๕๔๗ มีการให้มาตรฐานสถานที่พักในชุมชน หรือโฮมสเตย์ขึ้น
เคยมีอยู่ และการรักษาไว้ให้คงอยู่ล้วนต้องด�าเนินการโดยใช้ทุนทรัพย์ โดยเรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า “ที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท”
เสมอ โดยเฉพาะทรัพยากรทางการท่องเที่ยว ซึ่งมีทั้งที่จับต้องมอง
เห็นได้ หรือเป็นสิ่งที่ไม่อาจจับต้องได้แต่สัมผัสได้ด้วยความรู้สึก
การท่องเที่ยวจึงจ�าเป็นต้องด�าเนินควบคู่ไปกับการดูแล
รักษาแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเสมือนต้นทุนที่จะท�าให้อุตสาหกรรมนี้
ก้าวเดินต่อไป
ในอดีตเวลาพูดถึงการท่องเที่ยว หากมิใช่การเที่ยวธรรมชาติ
ไม่ว่าขุนเขาหรือท้องทะเล ก็จะเป็นการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
วัฒนธรรม ทว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในรอบราวสิบปีที่ผ่านมา
คือ การท่องเที่ยวเชิงวิถีวัฒนธรรม กลับเป็นสิ่งที่นักท่องเที่ยวไม่ว่า
ชาวไทยหรือต่างประเทศล้วนให้ความนิยมมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
เหตุผลส�าคัญคงเป็นการเติบโตของเมืองใหญ่ที่ท�าให้ผู้คน
ห่างไกลจากวิถีชีวิตที่เรียบง่าย สงบงาม ไม่เร่งร้อนกับการมีชีวิต
คนในเมืองใหญ่หรือคนจากสังคมที่เจริญทางวัตถุมาก ๆ จึงโหยหา
วิถีชีวิตสงบ มีความอิ่มเอมกับสถานที่และผู้คนที่ได้ไปสัมผัส
หลายคนนิยามการท่องเที่ยวเช่นนี้ว่า “เที่ยวแบบสโลว์ไลฟ์” ชุมชน
ท้องถิ่นในชนบทจึงกลายเป็นหมุดหมายใหม่ส�าหรับนักท่องเที่ยว
ผู้อยากสัมผัสวิถีวัฒนธรรมของชาวบ้านอย่างแท้จริง สมัยหนึ่ง
เราเคยเรียกขานการท่องเที่ยวแบบนี้ว่า “โฮมสเตย์” แต่เมื่อ
แนวทางของการท่องเที่ยวแบบนี้เริ่มชัดเจนขึ้น มีการพัฒนารูปแบบ
การจัดการโดยชาวบ้านเอง ผ่านตัวกลางอย่างเอเจนซีหรือบริษัท
ทัวร์น้อยที่สุด ท�าให้ปัจจุบันเรียกแนวทางการท่องเที่ยวแบบนี้ว่า
“การท่องเที่ยวโดยชุมชน” ๑
6