Page 11 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 11

ปัจจุบันหากให้ชุมชนนิยามตนเองว่าการด�าเนินการท่องเที่ยว
            ที่ชาวบ้านจัดท�าขึ้นควรเรียกอย่างไร จะพบว่ามีชื่อเรียกถึง ๔ ชื่อ
            ด้วยกันในกลุ่มชุมชนที่ท�าการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การท่องเที่ยว
            เชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวโดยชุมชน และการ
            ท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์
                  แต่ไม่ว่าจะถูกเรียกชื่ออย่างไร เราอาจนิยามความหมายของ
            “การท่องเที่ยวโดยชุมชน” ที่ใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือในการ
            พัฒนาชุมชนได้ดังนี้
                    เป็นการท่องเที่ยวที่ชุมชนเป็นเจ้าของ ชาวบ้านในชุมชน
            มีส่วนร่วมในการก�าหนดทิศทางและตัดสินใจ
                    เป็นการท่องเที่ยวที่ช่วยด�ารงเอกลักษณ์และวัฒนธรรม

            ของท้องถิ่น สร้างเสริมความภาคภูมิใจในวิถีวัฒนธรรมของตนเอง
            เคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างและเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
            โดยเท่าเทียม
                    เป็นการท่องเที่ยวที่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของคนท้องถิ่น   การท่องเที่ยวโดยชุมชนไม่ได้เกิดจากการตอบค�าถามว่า
            ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และการแลกเปลี่ยนระหว่างคนต่างวัฒนธรรม “ชุมชนจะได้ประโยชน์อย่างไรจากการท่องเที่ยว” แต่เป็นการ
                    สามารถสร้างความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมให้กับท้องถิ่น  สร้างโจทย์ใหม่ว่า “การท่องเที่ยวจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
                    เป็นการท่องเที่ยวที่เกิดผลตอบแทนที่เป็นธรรมแก่คนท้องถิ่น  ชุมชนได้อย่างไร”
                                                                      ความเป็นจริงอย่างหนึ่งคือ ชุมชนแต่ละแห่งมีศักยภาพ
                                                                 ไม่เท่ากันและไม่เหมือนกันในการจะพัฒนาไปสู่ “ชุมชนท่องเที่ยว
                                                                 เชิงวัฒนธรรม” ได้ ชุมชนที่มีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่
                                                                 สืบทอดกันมา มีวิถีชีวิตแบบชุมชนท้องถิ่นที่แท้จริง มิใช่ปรุงแต่งมา
                                                                 เพื่อการท่องเที่ยว และมีประเพณีท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง
                                                                 สามคุณลักษณะส�าคัญนี้สามารถสะท้อนถึงศักยภาพของชุมชนนั้น ๆ
                                                                 ในการพัฒนาไปสู่ “ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม” หากกล่าว

                                                                 อย่างสรุปก็คือ ต้องเป็นชุมชนที่มีรากเหง้าและมีความเข้มแข็งนั่นเอง
                                                                      นอกจากมีคุณลักษณะดังกล่าวแล้ว ชุมชนนั้นยังต้องมี
                                                                 ประสบการณ์ มีรูปแบบและความพร้อมในการบริหารจัดการการ
                                                                 ท่องเที่ยว การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการที่ดี เพื่อน�าไปสู่
                                                                 รายได้ของชุมชน และมีการแบ่งปันผลประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม
                                                                 อย่างเป็นธรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถส่งเสริม ฝึกฝน และพัฒนา
                                                                 ขึ้นได้ภายหลัง
                                                                      ปัจจุบันการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนมิได้มีแต่กลุ่มชาวบ้าน
                                                                 ในท้องถิ่นท�ากันโดยโดดเดี่ยวเท่านั้น ยังมีทั้งหน่วยงานภาครัฐและ
                                                                 องค์กรพัฒนาภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทสนับสนุนการในหลาย
                                                                 รูปแบบ ทั้งด้านการฝึกฝนอบรมการจัดการด้านต่าง ๆ หรือการน�า
                                                                 กลุ่มชาวบ้านออกไปดูงานตามพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ



                                                                                               ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    9
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16