Page 58 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 58

๓









       ๑












                  ๒                                           ๔

                 ภาพ ๑ กองต้นผึ้งสูงท่วมเรือนองค์พระธาตุศรีสองรัก จนต้องโยนส่งกันขึ้นไปอย่างในภาพ  ภาพ ๒ ลักษณะการถือต้นผึ้งจะสวมลงครอบศีรษะและ
                 ย่างเท้าก้าวตามอย่างสงบ  ภาพ ๓-๕ ชาวด่านซ้ายและผู้ศรัทธาจากถิ่นอื่นร่วมกันตั้งขบวนแห่ต้นผึ้งบูชาพระธาตุศรีสองรัก ที่เชิงเนินพระธาตุ โดยมีเจ้าพ่อกวน
                 และเจ้าแม่นางเทียมเป็นผู้น�าขบวนแห่ด้วยต้นผึ้งใหญ่



               เจ้าพ่อกวนและเจ้าแม่นางเทียมมาถึงลานเชิงเนินพระธาตุฯ ราว ๑๐ โมงเช้า    ต้นผึ้งจ�านวนนับหมื่นไม่อาจจัดวางเป็นแถว
          พร้อมกับต้นผึ้งขนาดใหญ่เป็นพิเศษ แวดล้อมด้วยชาวด่านซ้ายในชุดแต่งกายนุ่งขาว  เป็นระเบียบรายรอบฐานพระธาตุฯ ได้ จึงซ้อนทับสูง
          ห่มขาวที่พากันเทินต้นผึ้งของตนเองเหนือศีรษะ พร้อมตั้งแถวติดตามผู้น�าทาง เป็นกองพะเนินท่วมเรือนธาตุอย่างน่าตื่นตา จนแตะ
          จิตวิญญาณของพวกเขา ขบวนแห่ต้นผึ้งยาวเหยียดอย่างเป็นระเบียบก้าวตาม  เรือนยอดขององค์พระธาตุฯ ย�้าให้เห็นถึงความศรัทธา

          เจ้าพ่อกวนและแม่นางเทียม ต่อแถวกันขึ้นบันไดสู่ยอดเนินที่ตั้งของพระธาตุฯ   ของเหล่าผู้คนที่พากันมาที่นี่ในวันนี้
               ต้นผึ้งใหญ่ของเจ้าพ่อกวนและเจ้าแม่นางเทียมถูกแห่น�าขบวนเวียนรอบ
          องค์พระธาตุฯ และพระอุโบสถจนครบ ๓ รอบแล้วจึงน�าไปตั้งอยู่บริเวณฐานประทักษิณ
          ทิศตะวันออกหรือด้านที่เชื่อมกับพระอุโบสถ ขณะที่ขบวนแห่ต้นผึ้งอันยาวเหยียด  พระธาตุศรีสองรักสร้างขึ้นโดยพระมหากษัตริย์
          ก้าวตาม ผู้คนจ�านวนมากน�าต้นผึ้งทูนศีรษะรอคอยที่เชิงเนินพระธาตุฯ เพื่อขึ้นบันได ๒ แผ่นดิน คือ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช แห่งกรุงศรี-
          สู่ข้างบน ซึ่งบันไดที่นับว่าคับแคบส�าหรับคนจ�านวนมากกลับกลายเป็นเครื่องมือ  สัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) และสมเด็จพระมหา-
          อย่างดีในการชะลอขบวนผู้คนในการเข้าถึงลานประทักษิณอย่างเป็นระเบียบ  จักรพรรดิ แห่งกรุงศรีอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. ๒๑๓๐
               แสงแดดช่วงเที่ยงวันอันร้อนระอุท�าให้ดอกผึ้งที่ท�าจากไขขี้ผึ้งอ่อนตัว  นับเวลาได้ ๔๕๗ ปีแล้วที่พระธาตุศรีสองรักคือ
          ร่วงลงพื้นละลายเต็มพื้นผิวกระเบื้อง แต่ด้วยพลังความเชื่อท�าให้ผู้เปี่ยมศรัทธา ศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยและลาว โดยมี “ต้นผึ้ง”
          อดทนได้กับไขขี้ผึ้งที่หลอมละลายติดฝ่าเท้าเปล่าเปลือย และไม่มีใครสักคนที่ถอนตัว  เป็นเครื่องสักการบูชาถวายแก่องค์พระบรมธาตุ
          ออกจากการน�าพาต้นผึ้งของตนเวียนรอบพระธาตุฯ จนครบ ๓ รอบ ก่อนจะน�าไป เราจึงได้เห็นต้นผึ้งเรียงรายอยู่รอบฐานพระธาตุฯ
          ตั้งรวมกันไว้ที่รอบ ๆ ฐานองค์พระธาตุฯ ด้วยความปีติ            ในทุก ๆ วันตลอดทั้งปี



          56
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63