Page 60 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 60
การถวายต้นผึ้งเป็นพุทธบูชามีที่มาจากพุทธประวัติ ตอนที่ ๑๒๔
“เรื่องลิงถวายรวงผึ้ง” ขณะที่พระพุทธเจ้าประทับ ณ ป่าปาเลไลยก์ กล่าวถึง
เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จจ�าพรรษาในป่าต้นสาละใหญ่โดยล�าพัง มีช้างป่า
นามว่า “ปาลิไลยก์” เป็นบริวารจัดอาหารถวายประจ�า เมื่อลิงเห็นเข้าก็น�ารวงผึ้ง
ไปถวายบ้าง แต่พระพุทธเจ้าไม่ทรงรับเพราะว่าในรวงผึ้งนั้นยังมีตัวผึ้งอ่อนอยู่
หลังจากนั้นเจ้าลิงจึงกลับไปดึงตัวผึ้งอ่อนออกจากรวงผึ้งแล้วน�าไปถวายอีกครั้ง
ครั้งนี้พระพุทธเจ้าทรงรับ ในเวลาต่อมาเจ้าลิงที่ถวายรวงผึ้งได้ตกต้นไม้ตาย แต่
กุศลผลบุญที่ท�าไว้ในการถวายรวงผึ้งที่ไม่มีตัวผึ้งอ่อนแก่พระพุทธเจ้า ได้ไปเกิดเป็น
เทพบุตรบนสรวงสวรรค์
บันทึกและภาพแห่ปราสาทผึ้ง จึงเป็นที่มาของแนวคิดในการสร้างต้นผึ้งและหอผึ้งเพื่อถวายเป็นกุศล
วันวิสาขบูชา นครพนม พ.ศ. ๒๔๔๙ ในทุกโอกาสที่มีการบูชาพระพุทธเจ้า การบูชาพระพุทธเจ้าด้วยการถวายต้นผึ้ง
พระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ก็เปรียบกับการได้ถวายรวงผึ้งและจะได้รับอานิสงส์ผลบุญเมื่อสิ้นชีวิตไปแล้ว
กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ เรื่องเที่ยวที่ต่าง ๆ เฉกเช่นลิงนั่นเอง ขณะเดียวกันยังมีความเชื่อว่าการท�าต้นผึ้งหรือดอกผึ้งเพื่อเป็น
ภาค ๔ ว่าด้วยเที่ยวมณฑลนครราชสีมา มณฑล พุทธบูชาในงานศพ ก็จะท�าให้ผู้เสียชีวิตนั้นได้รับอานิสงส์สู่ชั้นสวรรค์เช่นกัน
อุดร และมณฑลร้อยเอ็ด มีความตอนหนึ่งกล่าวถึง ค�าว่า ต้นผึ้ง ชาวอีสานและชาวลาวออกเสียงส�าเนียงเป็น “ต้นเผิ่ง”
การแห่ปราสาทผึ้งบริเวณวัดพระธาตุพนม จังหวัด หรือบางแห่งเรียก “ต้นดอกผึ้ง” ส�าหรับต้นผึ้งที่ผู้คนทั่วไปถวายแก่พระธาตุ-
นครพนม วันวิสาขบูชา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๙ ไว้ว่า ศรีสองรักนั้นแบ่งแยกย่อยออกไป เรียกว่า “ต้นผึ้งน้อย” ส่วนต้นผึ้งขนาดใหญ่
“...เวลาบ่าย ๔ โมง ราษฎรแห่ปราสาทผึ้ง ที่น�าขบวนพร้อมกับเจ้าพ่อกวนและเจ้าแม่นางเทียมนั้น เรียกว่า “ต้นผึ้งใหญ่”
และบ้องไฟเป็นกระบวนใหญ่เข้าประตูชาลา ขณะเดียวกันหลายท้องที่เรียกต้นผึ้งใหญ่ว่า “หอผึ้ง” และยังมีต้นผึ้งที่ท�าจาก
พระเจดีย์ด้านตะวันตก แห่ประทักษิณองค์ หน่อกล้วยประดับดอกผึ้งตามภูมิปัญญาชาวบ้าน เรียกกันว่า “ต้นผึ้งมีชีวิต”
พระธาตุสามรอบ กระบวนแห่นั้นคือ ผู้ชาย ซึ่งก็เป็นอย่างนั้นจริงสมดั่งนาม
และเด็กเดินข้างหน้าหมู่หนึ่งแล้วมีพิณพาทย์
ต่อไปถึงบุษบกมีเทียนขี้ผึ้งใหญ่ ๔ เล่ม ในบุษบก
แล้วมีรถบ้องไฟ ต่อมามีปราสาทผึ้ง คือแต่ง ก่อนวันวิสาขบูชาหนึ่งวันหรือวันขึ้น ๑๔ ค�่า ที่ลานหน้าเรือนเจ้าพ่อกวน
หยวกกล้วยเป็นรูปปราสาท แล้วมีดอกไม้ท�าด้วย และเจ้าแม่นางเทียม หญิงและชายต่างวัยชุมนุมแบ่งหน้าที่สร้างต้นผึ้งและหอผึ้ง
ขี้ผึ้งเป็นเครื่องประดับ มีพิณพาทย์ ฆ้อง กลอง เพื่อร่วมกุศลผลบุญในวันรุ่งขึ้น ทุกขั้นตอนด�าเนินตามรูปแบบแต่ครั้งเก่าก่อน
แวดล้อมแห่มา และมีหญิงชายเดินตามเป็นตอน ๆ ทั้งลวดลาย ฝีไม้ลายมือ และความเชี่ยวชาญ ที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาหลาย
กันหลายหมู่ และมีกระจาดประดับประดาอย่าง ช่วงอายุของชาวด่านซ้าย นับเป็นโอกาสดีที่ผู้มาเยือนจะได้ชมขั้นตอนการสร้าง
กระจาดผ้าป่าห้อยด้ายไส้เทียนและไหมเข็ด ต้นผึ้งและหอผึ้งอย่างใกล้ชิด รวมไปถึงฝีไม้ลายมือของผู้ชาย และความประณีต
เมื่อกระบวนแห่เวียนครบสามรอบแล้ว ได้น�า ในการประดิดประดอยดอกผึ้งของผู้หญิง ตั้งแต่เวลาฟ้าสางจนย�่าค�่า
ปราสาทผึ้งไปตั้งถวายพระมหาธาตุ ราษฎรก็นั่ง ขั้นตอนการท�าต้นผึ้งเป็นหน้าที่ของผู้ชาย ด้วยการตัด ขัด ตอก และประกอบ
ประชุมกันเป็นหมู่ ๆ ในลานพระมหาธาตุคอย หอผึ้ง ซึ่งงานผู้ชายอย่างนี้เรียกกันตามศัพท์พื้นบ้านว่า “หักหอผึ้ง” ขณะที่ผู้หญิง
ข้าพเจ้าจุดเทียนนมัสการ แล้วรับศีลด้วยกัน ช่วยกันท�าดอกผึ้ง โดยน�าไขขี้ผึ้งใส่หม้อตั้งไฟให้ละลาย ใช้ผลมะละกอดิบตัดเอา
พระสงฆ์มีพระครูวิโรจน์รัตโนบลเป็นประธาน เฉพาะส่วนหัวที่เป็นปลายแหลม ปลอกเปลือก แช่น�้าไว้ น�าผลมะละกอที่ตัดเตรียมไว้
เจริญพระพุทธมนต์ เวลาค�่ามีการเดินเทียนและ แล้วใช้ด้านหัวปลายแหลมเป็นแม่พิมพ์จุ่มลงในไขขี้ผึ้งที่ละลาย ไขขี้ผึ้งจะเคลือบ
จุดบ้องไฟดอกไม้พุ่ม และมีเทศน์กัณฑ์หนึ่ง...” ติดขึ้นมาจึงน�าลงแช่น�้าอีกครั้ง ไขขี้ผึ้งที่เคลือบติดมะละกอนั้นก็จะหลุดออกมาเป็น
ทรวดทรงกลีบดอกไม้อย่างสวยงาม ส่วนเกสรดอกผึ้งใช้เหง้าขมิ้นแก่ หั่นตามขวาง
58