Page 55 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 55

๕. เวลาการแข่งขัน รอบแรก ๔ นาที รอบที่ ๒ เวลา ๕ นาที
                                                                 และรอบชิงชนะเลิศ ๖ นาที
                                                                      ๖. โพนเสียงทุ้มตียืน (ซ้ายขวาสลับสม�่าเสมอ) เสียงแหลม
                                                                 ตีขัด (ความถี่มากกว่า จังหวะแบบใดอิสระ)
                                                                      ๗. หากมีปัญหาให้อยู่ในดุลยพินิจของกรรมการ การตัดสิน
                                                                 ของกรรมการถือเป็นสิ้นสุด
                                                                      ฉลองบอกว่าทุกครั้งที่เข้าแข่งเขาจะส่งโพนเข้าร่วมประมาณ
                                                                 สิบลูก มีทั้งโพนเสียงทุ้มและเสียงแหลม โพนที่ใช้แข่งนั้นความยาก
                                                                 คือการปรับแต่งเสียง ในช่วงแข่งขันจึงต้องท�างานกันเป็นทีม มีครูฝึก
                                                                 คนปรับแต่งโพนซึ่งต้องตามดูตลอดการแข่งขัน นับเป็นงานใหญ่
                                                                 ที่ต้องรวมผู้คนมาร่วมด้วยช่วยกัน ก่อนขึ้นเวทีประกบคู่จะไม่มีทางรู้

                                                                 เลยว่าโพนของคู่แข่งจะให้เสียงแบบไหน ด้วยเหตุนี้จึงจ�าเป็นต้อง
                                                                 ส่งโพนหลายใบเป็นการวางกลยุทธ์ในการแข่งขันเพื่อจะจับทางโพน
                                                                 ของคู่ต่อสู้ การแข่งขันจะเป็นแบบแพ้คัดออก สู้กันไปจนเหลือโพน
                                                                 คู่สุดท้ายและเหลือหนึ่งเดียวคือผู้ชนะ
                                                                      เย็นวันนั้นโพนสองใบจัดวางเคียงคู่กัน จ�าลองการแข่งขัน
             ๓                                                   ให้ผู้มาเยือนได้เห็น เสียงโพนฟังดูเสมือนเสียงที่ดิบกร้าน ตรงไปตรงมา

                                                                 สมกับพื้นฐานที่ถูกออกแบบมาเป็นเสมือนเครื่องตีส่งสัญญาณที่
                                                                 ต้องการให้เสียงเดินทางไปได้ไกล เพราะในอดีตบ้านเรือนแต่ละหลัง
                  การแข่งโพน แบ่งเป็น ๒ อย่างคือ                 อาจอยู่ห่างจากศูนย์กลางส�าคัญเช่นวัด เมื่อจะท�าการใด ๆ หรือเมื่อเกิด
                  ๑. การแข่งขันมือ (ตีทน) การแข่งขันแบบนี้ไม่ค่อยนิยมเพราะ เรื่องฉุกเฉินส�าคัญ การจะแจ้งให้ทุกบ้านทราบในเวลารวดเร็วเห็นจะ
            ต้องใช้เวลานาน แข่งขันจนผู้ตีมืออ่อนหรือผู้ตีหมดแรงจึงตัดสินได้  เป็นไปไม่ได้ การใช้โพนตีเพื่อส่งสัญญาณจึงเกิดขึ้น “ถ้าเงียบจริง ๆ นี่
                  ๒. การแข่งเสียง การแข่งแบบนี้เป็นที่นิยมกันมากในปัจจุบัน  เสียงโพนดี ๆ ลูกหนึ่งดังไกลไปหลายกิโล” ฉลองกล่าว
            เพราะใช้เวลาสั้น ๆ ก็สามารถคัดเลือกคนชนะได้
                  การแข่งโพนส่วนมากจะเริ่มในปลายเดือน ๑๐ และสิ้นสุด   ยุคสมัยที่แปรเปลี่ยนการแข่งขันตีโพนก็มีรายละเอียด
            ในวันแรม ๑ ค�่า เดือน ๑๑ นิยมแข่งขันในเวลากลางคืน ถ้าหากมีโพน ที่ปรับไปบ้าง รวมทั้งความนิยมของเยาวชนก็มิได้มีมากเฉกเช่น
            หลายคู่ การแข่งขันจัดเป็นคู่ ๆ แต่ละฝ่ายใช้ผู้ตีเพียงคนเดียว โดยเริ่มจาก ในอดีต แรกเริ่มเดิมทีค่ายโพนของฉลองเคยมีเด็ก ๆ มาฝึก

            การตีลองเสียงว่าโพนใบไหนเสียงใหญ่ และใบไหนเสียงเล็ก กรรมการ  ตีโพนมากถึงยี่สิบกว่าคน ปัจจุบันนี้มีเพียงสิบคนที่หมุนเวียน
            จัดไว้เป็น ๒ ชุด ส�าหรับควบคุมมิให้ผู้แข่งขันเปลี่ยนคนตีชุดหนึ่ง และเป็น  กันมา แต่สิ่งที่มิได้เปลี่ยนแปลงไปเลยคือ ความทุ่มเทของ
            กรรมการฟังเสียง ซึ่งมีราว ๓-๕ คนอีกชุดหนึ่ง กรรมการชุดหลังจะอยู่ห่าง  นักสร้างโพนแห่งค่ายป่ายางหูเย็นยังคงเข้มข้นเฉกเช่นเดิม
            จากที่ตีไม่ต�่ากว่า ๑๕๐ เมตร เพื่อฟังเสียงและตัดสินโพนลูกดังกล่าวกัน ทุก ๆ ปียังคงส่งโพนเข้าแข่งขัน สร้างมือตีโพน สร้างโพนลูกแล้ว
                  กติกาการแข่งขันโพน                             ลูกเล่าทั้งโพนแข่ง โพนถวายวัด รวมทั้งซ่อมแซมปรับแต่งเสียง
                  ๑. โพนที่ส่งเข้าแข่งขันต้องส่งในนามของวัดใดวัดหนึ่งเท่านั้น ให้กับโพนมากมายที่เดินทางมาอยู่ในมือของช่างโพนที่ชื่อว่า
                  ๒. วัดหนึ่งจะส่งโพนเข้าแข่งขันกี่ใบก็ได้       ฉลอง นุ่มเรือง
                  ๓. แข่งแบบแพ้คัดออกโดยจับฉลากทีละคู่
                  ๔. หากคะแนนเสมอให้เข้ารอบต่อไปทั้งคู่ รอบสุดท้ายแข่ง ขอบคุณ ฉลอง นุ่มเรือง ค่ายโพนป่ายางหูเย็น ต�าบลปรางหมู่
            จนแพ้ในเวลาที่จ�ากัด                                 อ�าเภอเมือง จังหวัดพัทลุง



                                                                                             ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    53
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60