Page 38 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 38
๑
ในแดนดินอีสาน โดยเฉพาะที่บ้านโพน อ�าเภอค�าม่วง การตัดเย็บเป็นผ้าห่มตัว ใช้ในงานหัตถศิลป์หลาก
จังหวัดกาาฬสินธุ์ ครั้งปี พ.ศ. ๒๕๒๐ พระองค์ทอด รูปแบบ ปรับเปลี่ยนเป็นลายประดับกระเป๋า ผ้าเช็ดหน้า
พระเนตรเห็นชาวผู้ไทบ้านโพนแต่งตัวโดยใช้ผ้าเบี่ยง ปลอกหมอน ลวดลายโบราณที่ตกทอดกันมาในผ้าแซ่ว
หลากสีสันเหนือชุดสีด�าทึบ ทรงสนพระทัยและโปรด ถูกสอดสานขึ้นเป็นผ้าทอผืนสวย ว่ากันว่าในผ้าแพรวา
ให้มีการสนับสนุน และได้มีพระราชด�าริให้ขยาย ผืนหนึ่งนั้น หญิงผู้ไทสามารถสร้างสรรค์ลายผ้าราว
หน้าผ้าให้กว้างขึ้น เพื่อน�าไปใช้เป็นผ้าผืนส�าหรับตัด ๑๐ หรือ ๑๒ ลายลงไปอยู่ร่วมกันได้อย่างงดงาม
เสื้อผ้าได้ อีกทั้งยังทรงรับสั่งให้มีการพัฒนาลวดลาย ลงตัว
ให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาด จากชนชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งที่แรมรอนผ่านทั้ง
ผ้าแพรวาค่อยแตกยอดเติบโตพร้อม ๆ กับ ศึกสงครามและความยากไร้ พวกเขาค่อย ๆ พาความคิด
ความเป็นอยู่อันสุขสมบูรณ์ขึ้นของคนผู้ไทหลากหลาย ความเชื่อ รวมไปถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอันงดงาม
ถิ่นในอีสาน พวกเขารวมตัวกันพัฒนาผ้าทอที่เต็ม ผ่านพ้นแดนดินขุนเขาในสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ไปด้วยเอกลักษณ์ในสีสันอันสดใส ละเอียดอ่อน ประชาชนลาว ข้ามพรมแดนธรรมชาติอย่างสายน�้าโขง
และเต็มไปด้วยความมีระเบียบ โดยพัฒนาไปสู่ เลือกปักหลักลงแถบเชิงเขาภูพาน ตามผืนดินไร่นา
36