Page 39 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 39
ภาพ ๑ รูปแบบการพัฒนา แถบจังหวัดสกลนคร กาฬสินธุ์ นครพนม มุกดาหาร
ผลิตภัณฑ์ผ้าแพรวานอกจาก และกระจายไปตามพื้นที่เล็กน้อยในแผ่นดินไทย
เป็นผ้าผืนยังปรับเปลี่ยนไปสู่
รูปแบบต่าง ๆ เช่น เสื้อ ผ้าพันคอ ไม่เพียงผ้าแพรวาอันงดงามของหญิงผู้ไทที่
ปลอกหมอน แตกยอดเติบโตขึ้นในนามของความงดงาม แต่รากเหง้า
ภาพ ๒-๓ ยามค�่าคือห้วงเวลา ทางวัฒนธรรมที่ติดตัวพวกเขามาล้วนถูกผสมผสาน
ที่หญิงผู้ไทมักใช้เวลาไปกับการ
ทอผ้าหลังจากกลับจากงานหลัก พัฒนาเติบโต รวมถึงเป็นสิ่งรังสรรค์ให้ผืนแผ่นดิน
ในไร่นา อีสานเต็มไปด้วยความหลากหลายอันแสนรื่นรมย์ ๒
ภาพ ๔ แม่ครูค�าสอน สระทอง
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์
ด้านการทอผ้า แห่งบ้านโพน ลวดลายเปี่ยมสีสันในผืนผ้าแพรวา บอก
จังหวัดกาฬสินธุ์ ครูของการ ย้อนไปถึงคุณค่าทางวัฒนธรรมที่ส่งต่อมาจาก
ทอผ้าแพรวาของคนผู้ไท
บรรพบุรุษ นอกจากผ้าผืนงามที่เป็นเอกลักษณ์ด้วย
การถักทอของเส้นไหมสีต่าง ๆ จนเกิดเป็นเครื่อง
นุ่งห่มแห่งภูมิปัญญาแล้ว ผ้าแพรวายังเป็นความ
ภาคภูมิใจของชาวภูไทดั่งค�ากล่าวขาน “แพรวา
ราชินีแห่งไหมไทย” ๓
๔
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ 37