Page 37 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 37
กระบวนการขิดและจกลาย คล้ายเป็นการก�าหนดโครงร่างและขอบเขตของลาย การจกผืนผ้าขึ้นอย่างประณีต กระบวนการขิดผ้า
ถ่ายทอดออกมาเป็นลวดลาย ในผ้าแต่ละผืน ของคนผู้ไทสะท้อนออกมางดงามในขิดดอกเล็กและ
อันงดงามหลากหลายรูปแบบ
จากลายหลัก ต่อยอดมาสู่ส่วนของลายคั่น ขิดดอกใหญ่ โดยใช้ไม้ลายขิดสานเพื่อเก็บลาย ส่วน
หรือที่เรียกกันว่าลายแถบ เป็นลายขนาดเล็กที่อยู่ การจกลายนั้นหญิงผู้ไทที่ถือว่าเชี่ยวชาญงานทอผ้า
ในแนวขวางของผืนผ้า มีหน้าที่เป็นตัวแบ่งลายใหญ่ แพรวาของผู้ไทแท้จะไม่ใช้อุปกรณ์อย่างเข็ม ไม้ หรือ
ออกเป็นช่วง ๆ โดยผู้ทอมักทอลายตาไก่ ลายงูลอย ขนเม่นเป็นตัวช่วย แต่จะใช้นิ้วก้อยจกเกาะเกี่ยว
ลายขาเข ลงเป็นลายคั่น สอดสานเส้นไหมพุ่งที่เป็นเส้นสีอย่างช�านิช�านาญ
ส่วนที่เป็นเชิงผ้านั้นคืออีกส่วนที่งดงามอยู่ด้วย การเกาะลายด้วยนิ้วก้อยจากริมผ้าข้างหนึ่งไปสู่ข้าง
ทักษะการทอผ้าของหญิงแต่ละคน เรียกว่า ลายช่อ หนึ่งสะท้อนความเก่งของหญิงแต่ละคนออกมาได้
ปลายเชิง นอกจากความงดงามอันสื่อถึงจินตนาการ อย่างจริงแท้
ลายช่อปลายเชิงยังท�าหน้าที่เป็นตัวเริ่มและตัวจบ จากลวดลายดั้งเดิมที่ฝังลึกอยู่ในสายเลือดและ
ของลายผ้าแต่ละลาย โดยมีลายย่อยหลากหลาย เช่น วัฒนธรรมของหญิงผู้ไท ผ้าแพรวาค่อยฝังรากเติบโต
ลายช่อขันหมาก ลายดอกบัวน้อย ลายใบบุ่นน้อย เคียงข้างผู้คนชาติพันธุ์อื่น ๆ ในผืนแผ่นดินอีสาน
ผ้าแพรวาเต็มไปด้วยการผสมผสานทั้งลาย โดยได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมจากโครงการศูนย์
โบราณและลายประยุกต์ที่ปรับเปลี่ยนไปตามการ ศิลปาชีพพิเศษในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม-
เรียนรู้ของหญิงผู้ไท ผสมผสานระหว่างลายขิดและ ราชินีนาถ ว่ากันว่าเมื่อครั้งพระองค์เสด็จฯ เยี่ยมพสกนิกร
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ 35