Page 34 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 34
๑ ๒ ๓
ส�าหรับชนชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งที่เรียกตัวเองว่า ส�าหรับกลุ่มชาติพันธุ์ที่เปี่ยมไปด้วยความงาม
ผู้ไท พวกเขารอนแรมข้ามล�าน�้าโขงเข้ามาปักหลักหยัดยืน ทางวัฒนธรรมอย่างผู้ไท ดูเหมือนการเคลื่อนผ่านจาก
ในผืนแผ่นดินอีสานของไทย ถิ่นฐานเดิมแถบแคว้นสิบสองจุไทย (ดินแดนส่วนหนึ่ง
ยามเมื่อหญิงสาวรุ่นต่อรุ่นได้จกเส้นไหมลงบน ของลาว เวียดนาม และภาคใต้ของจีน) ข้ามแม่น�้า
ผ้าทอสักผืน ลวดลายวิจิตรที่ปรากฏเต็มไปด้วยความหมาย โขงเข้าสู่ไทยนั้น เวลาหลายร้อยปีด้วยเหตุผลทาง
อันหลากหลาย เป็นคุณค่าที่สั่งสมมายาวนาน บอกเล่า ศึกสงครามนั้นไม่อาจลบเลือนวัฒนธรรมหลากหลาย
ถึงที่มาและการด�ารงอยู่ซึ่งทิศทางแห่งวัฒนธรรม ที่พวกเขาสั่งสม ภาษาที่ฟังหวานหู และความเชื่อใน
อันพร้อมเสมอที่จะน�าพาลูกหลานก้าวไกลไปในวัน ผีบรรพบุรุษ ครรลองของชีวิตอันเรียบง่าย เหล่านี้ล้วน
ข้างหน้าอย่างมั่นคง ติดอยู่ในสายเลือดและเติบโตตามแผ่นดินที่พวกเขา
เลือกปักหลัก
โดยเฉพาะเรื่องราวของ “ผ้าแพรวา” งาน
หัตถศิลป์ที่บ่งบอกถึงตัวตนของพวกเขาอย่างเด่นชัด
32