Page 35 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 35
ภาพ ๑ ผ้าเบี่ยงของหญิงผู้ไท ผ้าแพรวานั้นคนผู้ไทให้ความหมายรวมถึง เอกลักษณ์ของแต่ละครอบครัว หรือแต่ละกลุ่มผู้ไท
นิยมถักทอละเอียดและใช้สีแดง ผ้าทอเป็นผืนที่มีความยาว ๑ วา หรือราวหนึ่งช่วงแขน ที่แยกย่อยไปตามการลงหลักปักฐาน
เพื่อให้ตัดกับเสื้อด�าอันเป็นสีพื้น
เพิ่มความงดงามโดดเด่นให้กับ ลวดลายโบราณถูกถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ พวกเขา จากการสืบสานลายโบราณที่สั่งสอนกันผ่าน
อาภรณ์ของชาติพันธุ์ที่เป็นเอก มักเลือกใช้ในงานบุญและเทศกาลส�าคัญต่าง ๆ โดย ผ้าแซ่ว หญิงผู้ไทเต็มไปด้วยจินตนาการ พวกเธอรู้จัก
ในเรื่องผ้าทอ เชื่อกันว่าหญิงผู้ไทนั้นจ�าเป็นต้องตัดเย็บผ้าทอได้ การเลือกสีและย้อมด้วยวัสดุธรรมชาติ อย่างครั่ง ขี้เถ้า
ภาพ ๒-๓ ผ้าแพรวาเกี่ยวเนื่อง
กับเทศกาลงานบุญต่าง ๆ ของ ๓ อย่าง เสื้อด�า ต�าแพร และซิ่นไหม ซึ่งค�าว่า “ต�าแพร” ดิน หรือเปลือกไม้
คนผู้ไทอย่างแยกกันไม่ออก นั้นบ่งบอกชัดเจนถึงการทอผ้าแพรวา ลวดลายผ้าแพรวาที่ตกทอดเป็นเอกลักษณ์นั้น
โดยเฉพาะเมื่อมีงานบุญต่าง ๆ เด็กหญิงผู้ไทจะถูกแม่เฒ่าสั่งสอนให้รู้จัก แยกออกเป็น ๓ ส่วน คือ ลายหลัก ลายคั่น และลาย
ถือว่าผ้าแพรวาคือหน้าตาของ
หญิงผู้ไท โดยพวกเธอต้อง ทั้งการทอและลวดลายโบราณตั้งแต่เด็ก ๆ พวกเธอ ช่อปลายเชิง
ตัดเย็บผ้าทอได้ ๓ อย่าง คือ เริ่มต้นที่ “ผ้าแซ่ว” ผ้าไหมทอพื้นสีขาวที่มีลวดลาย ลายหลัก คือ ลายขนาดใหญ่ที่ปรากฏอยู่ใน
เสื้อด�า ต�าแพร และซิ่นไหม
ดั้งเดิมทอไว้เป็นแม่แบบอันส่งต่อมาจากรุ่นบรรพบุรุษ ผืนผ้าทอ เช่น ลายนาค ลานพันธุ์มหา ลายดอกสา โดย
ว่ากันว่าลวดลายบางชนิดเป็นมรดก บ่งบอกได้ถึง แยกย่อยออกไปเป็นลายนอก ลายใน และลายเครือ
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ 33