Page 88 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 88
พื้นบ้ำนพื้นเมือง
จักรพันธุ์ กังวำฬ เรื่อง
สำยัณห์ ชื่นอุดมสวัสดิ์ ภาพ
ภูมิปัญญำช่ำงท?ำเครื่องดนตรีไทย
ครูจ้อน วำทิต ไทรวิมำน
สิ่งที่ครูจ้อนท?ำอยู่เสมอไม่เคยขำดในยำมเช้ำแต่ละวัน
คือกำรกรำบไหว้บูชำครูบำอำจำรย์ทำงดนตรีผู้มีพระคุณ
ทั้ง “ครูเทพ” อำทิ เศียรของพระอิศวร พระนำรำยณ์ พระพรหม
พระประโคนทัพ พระปัญจสิงขร ฯลฯ ซึ่งประดิษฐำนอยู่
บนโต๊ะหมู่บูชำขนำดใหญ่ อีกทั้ง “ครูที่เป็นมนุษย์ปุถุชน”
ซึ่งล่วงลับไปแล้ว ที่เป็นภำพเขียนหรือภำพถ่ำย
ใส่กรอบอย่ำงดีประดับฝำผนังหรือบนเสำภำยในร้ำน
ครูอีกท่ำนหนึ่งที่ครูจ้อนเคำรพและ
ระลึกถึงอยู่เสมอ ดังที่เห็นว่ำมีพวงมำลัยดอกไม้
สีเหลืองบูชำอยู่บนหิ้งไม้ใต้ภำพของท่ำน ก็คือ
พระประดิษฐไพเรำะ หรือ ครูมีแขก ดุริยำงกูร
บรมครูดนตรีไทยคนส?ำคัญ ผู้มีชื่อเสียงด้ำนประพันธ์
“เพลงทยอย” ไว้จ?ำนวนมำก ครูมีแขกเสียชีวิต
ในสมัยรัชกำลที่ ๕ ต่อมำลูกหลำน
ของท่ำนได้ก่อตั้งร้ำนดุริยบรรณ
ร้ำนผลิตและจ?ำหน่ำยเครื่องดนตรีไทย
เจ้ำใหญ่ (ปัจจุบันเลิกกิจกำรไปแล้ว)
ซึ่งครูจ้อนเคยไปฝำกตัวท?ำงำนเป็นช่ำง
กระทั่งได้รับประสบกำรณ์และควำมรู้
ด้ำนกำรท?ำเครื่องดนตรีไทยติดตัว
มำถึงทุกวันนี้
86