Page 84 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 84
๑ ๒
๑ พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายพร้อมกับนักเรียนมหาดเล็กรับใช้ (หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ยืนอยู่ซ้ายสุด)
๒ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายฉลองพระองค์ครุยวิทยฐานะแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
๓ ผลงานการประพันธ์จากปลายปากกาของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่นกับงานประพันธ์
ท่านเริ่มเขียนค?าประพันธ์ตั้งแต่อายุ ๑๓ ปี โดยได้รับ รัชกาลที่ ๖ ที่ทรงพระกรุณาสอน
พระมหากรุณาธิคุณจากรัชกาลที่ ๖ ที่ทรงมีพระราชด?ารัสสั่งสอน วิชาแต่งโคลงสี่สุภาพให้ และโปรด
และทรงเขียนต?าราพระราชทานให้ ต่อมาเมื่อท่านได้ไปศึกษาใน ให้หม่อมหลวงปิ่นอ่านบทละครที่
ต่างประเทศ ท่านได้เขียนเรื่องลงหนังสือพิมพ์ ส่วนเรื่องประเภท พระราชนิพนธ์เสร็จใหม่ ๆ ให้ฟังเป็น
บทละครและเรื่องเกี่ยวกับการศึกษาเริ่มเขียนประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๗- ประจ?า และทรงให้โอกาสแสดงละคร
๒๔๗๘ และสามารถแต่งหนังสือได้แทบทุกประเภทในเวลาอัน พระราชนิพนธ์หลายเรื่อง เช่น โพงพาง
รวดเร็ว นับเป็นผู้มีความรู้แตกฉานด้านอักษรศาสตร์ และมีผลงาน หัวใจนักรบ รวมทั้งทรงแต่งตั้งให้อยู่
ที่ตีพิมพ์เผยแพร่เป็นเล่มรวม ๒๐๗ เรื่อง แบ่งเป็น ๕ หมวด คือ ในคณะบรรณาธิการหนังสือพิมพ์
หมวดการศึกษา หมวดบทละคร หมวดค?าประพันธ์ หมวดการท่องเที่ยว “ดุสิตสมิต” ด้วย
และหมวดเบ็ดเตล็ด โดยในการแต่งหนังสือท่านมักใช้นามจริง แต่ก็มี ในด้านการเขียนค?าประพันธ์นั้น
นามแฝงด้วยคือ ป.ม. ซึ่งย่อมาจาก ปิ่น มาลากุล นอกจากนั้นยังมี หม่อมหลวงปิ่นเล่าว่าชอบการแต่งค?าประพันธ์
นามแฝงที่ได้รับพระราชทานจากรัชกาลที่ ๖ คือ ประติสมิต, นายเข็ม ประเภทโคลงกลอน และเขียนเป็นภาษาอังกฤษ
หมวกเจ้า (เข็ม หมายถึง ปิ่น, หมวก หมายถึง มาลา, เจ้า แสดงว่า ก็มีบ้าง งานประพันธ์ด้านต่าง ๆ ของหม่อมหลวงปิ่น
เป็นราชสกุล และประเสริฐ หมายถึง ปิ่น หรือยอด) อาทิ การศึกษา เนื่องจากมีอาชีพเป็นครู จึงได้เขียน
หม่อมหลวงปิ่นมีผลงานด้านการประพันธ์จ?านวนมาก ทั้ง เรื่องเกี่ยวกับการศึกษาไว้มากพอสมควร เรื่องส?าคัญเช่น “ปาฐกถา
ทางด้านวิชาการ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการศึกษา สารคดี ท่องเที่ยว เรื่องหลักการศึกษาและประวัติการศึกษา” ที่สามัคยาจารย์
บทละคร กวีนิพนธ์ จนได้รับการยกย่องว่าเป็นกวีรัตนโกสินทร์ สมาคม “ศึกษาภาษิต” ซึ่งกระจายเสียงที่สถานีวิทยุศึกษาใน
เพราะได้รับการปลูกฝังให้มีความรักและชื่นชมในภาษาและศิลป- วันเสาร์ติดต่อกันตลอด ๒ ปี และ “วิชาครูเล่มเล็ก” ประพันธ์แจก
วัฒนธรรมของชาติมาแต่เยาว์วัย ขณะที่เป็นมหาดเล็กรับใช้ใน ครูประชาบาลจ?านวน ๑๒๐,๐๐๐ เล่ม
82