Page 85 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 85

เรื่องการท่องเที่ยว หม่อมหลวงปิ่นได้เล่าว่ามีพระราชบันทึก
            ของรัชกาลที่ ๖ เมื่อคราวเสด็จพระราชด?าเนินไปยังสเปน ออสเตรีย
            ฮังการี และเยอรมนี ที่ทรงบันทึกไว้เป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งท่าน
            เห็นว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จึงได้แปลเป็นภาษาไทย
            เฉพาะที่เสด็จพระราชด?าเนินไปยัง ๓ ประเทศแรก ส่วนเยอรมนีได้
            มอบหมายให้ อาจารย์ละม้ายมาศ ศรทัตติ เป็นผู้แปล นอกจากนี้ท่าน
            ยังมีบทประพันธ์เกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่ใช้ค?าว่านิราศ เช่น นิราศร่อน
            รอนแรมไปรอบโลก นิราศพายาใจไปรอบโลก เป็นต้น
                  เรื่องบทละคร หม่อมหลวงปิ่นเขียนบทละครมาแล้ว ๗๐ เรื่อง
            โดยนับส?านวนที่ ๒ ด้วย รวมทั้งบทละครภาษาอังกฤษ















                                                                      กล่าวได้ว่าผลงานนิพนธ์ของหม่อมหลวงปิ่นมีทั้งประเภท
                                                                 ร้อยแก้วและร้อยกรอง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอัจฉริยะ
                                                                 ในการประพันธ์ เพราะเป็นทั้งนักการศึกษา ศิลปินแห่งชาติสาขา
                                                                 วรรณศิลป์ ราชบัณฑิตในประเภทวรรณศิลป์ ดังนั้นการใช้ภาษา
                                                                 ในค?าประพันธ์จึงสละสลวย ชัดเจน เข้าใจง่าย ทั้งยังเป็นผู้ปรีชา
                                                                 สามารถในการแต่งค?าประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง สมกับนามที่ได้รับ
                                                                 การยกย่องว่าเป็น “กวีรัตนโกสินทร์” ทุกประการ


                                                                 เกียรติยศด้านภาษา

                                                                      ด้วยผลงานอันโดดเด่นและเป็นที่ประจักษ์ชัดในด้านการ
                                                                 ส่งเสริมการใช้ภาษาไทย หม่อมหลวงปิ่นจึงได้รับเกียรติจากหน่วยงาน
                                                                 ต่าง ๆ มอบรางวัลเกียรติยศด้านภาษาแก่ท่าน เช่น ให้ด?ารงต?าแหน่ง
                                            ๓
                                                                 ที่ส?าคัญทางวิชาการอีกต?าแหน่งหนึ่ง คือ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ
                                                                 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตในสาขาวรรณศิลป์ โดยเป็น
                        ในส่วนของบทละครคณิตศาสตร์ ด้วยเหตุที่ท่านเล่า   ราชบัณฑิตรุ่นแรกจ?านวน ๕๑ คน และด?ารงต?าแหน่งประธานส?านัก
            ไว้ว่า “รักวิชานี้เป็นอย่างยิ่ง” จึงได้ลองแต่งบทประพันธ์และ   ศิลปกรรม รวมถึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น
            บทละครที่เรียกว่า ละครคณิตศาสตร์ เช่น เรื่องสามมากกว่าห้า    ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ใน พ.ศ. ๒๕๒๙
            เงินหาย (หลายส?านวน) ง่ายนิดเดียว และเบญจพรรณปัญหา เป็นต้น   ต่อมา พ.ศ.๒๕๓๐ หม่อมหลวงปิ่นได้รับการประกาศ
            ซึ่งท่านกล่าวว่าได้เขียนเรื่องราวไว้ไม่ต?่ากว่า ๑,๐๐๐ เรื่อง  เกียรติคุณ เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ พุทธศักราช ๒๕๓๐



                                                                                            เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐    83
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90