Page 90 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 90
๑ ๓
๒ ๔ ๕
ครูจ้อน หรือชื่อจริง ครูวำทิต ไทรวิมำน พื้นเพ อีกทั้งเป็นแหล่งพบปะของเหล่านักดนตรีไทยและ ๑ ส่วนหน้ากะโหลกซอขึงด้วย
เป็นคนอ?าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม แม้ว่าทางบ้าน ปราชญ์ผู้มีความรู้ด้านดนตรีไทยในสมัยนั้น แผ่นหนัง
๒ ด้านในกะโหลกซอมีลายเซ็น
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท?าไร่ท?านา ทว่าพ่อของท่าน “ร้านดุริยบรรณขายเครื่องดนตรีไทยทุกอย่าง ของครูจ้อนก?ากับไว้
ก็รักการเล่นดนตรีไทย มักร่วมวงกับกลุ่มข้าราชการใน ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก จะเข้ ๓ ส่วนกะโหลกซอสามสาย
อ?าเภอบางเลนไปเล่นตามงานต่าง ๆ อยู่เสมอ ท?าให้ ซอสามสาย ครบเลย เป็นโรงงานที่ตั้งมายาวนานที่สุด ท?าจากกะลามะพร้าว
แกะสลักลวดลายอย่างประณีต
ครูจ้อนได้คลุกคลีกับดนตรีไทยมาตั้งแต่เด็ก ครูดนตรีอาวุโสผู้มีชื่อเสียงก็มาซื้อเครื่องดนตรีไทย ๔ ช่างก?าลังประดับมุกบนคันซอ
“ที่บ้านรักดนตรีไทย ได้เห็นพ่อเล่นแล้วผม กันที่นี่ ผมฝึกเป็นช่างในโรงงานด้านหลังร้าน ตอนนั้นมี ๕ ห้องท?างานของครูจ้อนภายใน
จ?าเพลงได้เยอะ พ่อเลยให้ผมลองเล่น หัดเป่าขลุ่ย ช่างอยู่ประมาณ ๗-๘ คน เขาอยู่กันมานานหลายสิบปี โรงงาน
๖ ครูจ้อนย้ายมาเปิดร้านและ
สีซออู้ ซอด้วง ตอนนั้นผมอายุ ๖ ขวบ จนไปเล่น ฝีมือดี ๆ กันทั้งนั้น เราก็หาความรู้ใส่ตัวเรื่องการท?า โรงงานผลิตเครื่องดนตรีที่ย่าน
ประสมวงกับพวกผู้ใหญ่ได้” ครูจ้อนในวัย ๖๔ ปี เครื่องดนตรี ช่างอาวุโสสอนบ้าง ได้ประสบการณ์จาก บางพลีตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๕
ย้อนระลึกความหลัง การท?างานจริงบ้าง” ครูจ้อนเล่า
กระทั่งครูจ้อนเรียนจบชั้นประถมสี่ อายุได้ “การท?าเครื่องดนตรีแต่ละชนิด ความยากง่าย
๑๔ ปี พ่อก็พาเข้ากรุงเทพฯ ไปฝากให้ท?างานที่ร้าน ไม่เหมือนกัน ต้องเรียนรู้ไปทีละอย่าง ทีละขั้นตอน
ดุริยบรรณ บริเวณสี่แยกคอกวัว ซึ่งเป็นร้านเก่าแก่ที่มี ศึกษาให้รู้จริงว่าท?ายังไง เช่น การกลึงไม้ การขึ้นหนัง
ชื่อเสียง แหล่งรวมของช่างท?าเครื่องดนตรีไทยฝีมือดี การท?าสี การท?าเครื่องดนตรีถ้าท?าลวก ๆ ขอไปที แค่ให้
88