Page 66 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 66

เหตุที่เหมืองฝายในท้องถิ่นล้านนายังด?ารง   เหมืองฝายนอกจากช่วยกระจายน?้าไปยังพื้นที่  ๑-๓ ฝาย สร้างจากท่อนไม้
          อยู่ถึงทุกวันนี้ก็เพราะมีความยุติธรรมเป็นแกน และ  เกษตรกรรมอย่างทั่วถึงแล้ว ยังช่วยชะลอสายน?้าให้  ที่ปักและขัดกันเรียงรายเป็น
          มั่นคงในแนวทางปฏิบัติของบรรพบุรุษที่สร้างไว้ให้  ไหลหลากจากขุนเขาสู่ที่ลุ่มต?่า ลดความรุนแรงของ  ก?าแพงหลายชั้น เสริมด้วย
                                                                                                   การถมหินหรือถุงทราย
          เคารพและยอมรับในธรรมชาติเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่าง  อุทกภัยที่จะเกิดขึ้นได้                ยกระดับน?้าเหนือฝายให้สูงขึ้น
          ยั่งยืนเป็นหลักการ โดยแบ่งปันใช้สอยประโยชน์กัน                                           เพื่อเปลี่ยนทิศทางไหลของน?้า
                                                                                                   และชะลอเก็บกัก
          เท่าที่เพียงพอกับไร่นาของตน ทุกคนตระหนักถึง    เหมืองฝายได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็น
          ป่าต้นน?้าและช่วยกันดูแลอนุรักษ์ ความอุดมสมบูรณ์ใน  มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๘
          ระบบนิเวศของเหมืองฝายจึงเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์แบบ    เหมืองฝายคือมรดกภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย คือ
          ให้ทุกคนได้มีความสุขกับความมั่นคงในชีวิต เป็นความ  ภูมิสถาปัตยกรรมที่ยอดเยี่ยม คือระบบการจัดการ
          ล?้าค่าที่พวกเขาหวงแหน                   ทรัพยากรธรรมชาติที่ประชาชนมีส่วนร่วมอย่าง
               เมื่อชาวบ้านและเกษตรกรล้านนามีเหมืองฝาย   แท้จริง และคือแหล่งความรู้ทรงคุณค่าในการพัฒนา

          เป็นระบบชลประทานอันยอดเยี่ยมสมบูรณ์แบบ   ส?าหรับระบบชลประทานสมัยใหม่ที่ต้องต่อยอด
          เช่นนี้แล้ว ระบบชลประทานสมัยใหม่ที่สร้างด้วย  และไม่ควรมองข้าม
          คอนกรีตขนาดใหญ่โตนั้นจึงถูกพวกเขาปฏิเสธด้วย
          เหตุผลที่ดีมากมาย โดยมีหนึ่งในเหตุผลที่น่าสนใจ
          คือ “ระบบชลประทานสมัยใหม่มีเหมืองและฝาย
          เป็นคอนกรีต น?้าจะซึมผ่านไม่ได้เลย ความชุ่มชื้น
          ในผืนดินให้ถ้วนทั่วนั้นไม่มี” ขณะที่เหมืองฝายแบบ
          โบราณมีการก่อสร้างด้วยดิน หิน และไม้ที่ความชุ่มชื้น
          ซึมผ่านได้


            แหล่งข้อมูล
             -  ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและ
               จักรวาล : มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
               ของชาติ จัดพิมพ์โดย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม,
               ๒๕๕๙                                  ๑
             -  ประเสริฐ ณ นคร, มังรายศาสตร์ หรือกฎหมาย
               พระเจ้ามังราย จัดพิมพ์โดย มหาวิทยาลัย
               ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร คณะสังคมศาสตร์
               ภาควิชาประวัติศาสตร์, ๒๕๒๑
             -  ระบบชลประทานเมืองสุโขทัย ข่าวประชา-
               สัมพันธ์ กรมศิลปากร เว็บไซต์ http://www.
               finearts.go.th
             -  ศุภชัย นิมมานเหมินท์, การจัดการชลประทาน
               แบบพื้นเมืองของล้านนาไทย วิทยานิพนธ์
               ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
               ๒๕๓๒
             -  อุดม รุ่งเรืองศรี, พจนานุกรมล้านนา - ไทย
               จัดพิมพ์โดย มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง, ๒๕๓๓
                                                     ๒


          64
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71