Page 70 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 70
รู้จักคนมลาบรี จังหวัดแพร่ บ้านห้วยหยวก ต?าบลแม่ขะนิง อ?าเภอเวียงสา จังหวัดน่าน และศูนย์
มลาบรีเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่ในอดีตเดินทาง ภูฟ้าพัฒนา ต?าบลภูฟ้า อ?าเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน และในแขวงไชยะบุรีของ
พเนจรตามเทือกเขาสูงในประเทศไทยตอนเหนือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รวมทั้ง ค?าว่า มลาบรี (Mlabri) เป็นค?าประสมระหว่าง มลา /mlaa?/ หมายถึง
บริเวณสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าบางส่วน มีความรัก คน กับ บรี /brii?/ หมายถึง ป่า เมื่อปรากฏร่วมกันค?าแรกจะออกเสียงสั้นลง และ
ความผูกพันกับป่าและมักเดินทางข้ามไปมาระหว่าง ทั้งสองค?ามีการกักเสียงตอนท้ายซึ่งไม่มีในระบบเขียนภาษาไทย เสียงท้ายแบบนี้
เทือกเขาต่าง ๆ เพื่อรอเวลาให้ป่ากลับสู่ความอุดม จึงไม่มีรูปก?ากับ ดังนั้นจึงมีการเขียนชื่อคนกลุ่มนี้หลายแบบ เช่น มลาบรี มละบริ
สมบูรณ์อีกครั้ง แล้วจึงวนกลับมาที่เดิมก่อนจะเร่ร่อน มละบรี นอกจากนี้ยังมีชื่ออื่น ๆ ที่เรียกคนกลุ่มนี้ เช่น ยุมบรี ข่าตองเหลือง ม้ากู่
ต่อไปอย่างไม่มีวันจบสิ้น คนมลาบรีที่อาศัยอยู่ใน (คนม้งเรียก)
ประเทศไทยมีประมาณ ๔๐๐ คน โดยอาศัยอยู่ที่ คนทั่วไปไม่คุ้นเคยกับค?าว่า มลาบรี ส่วนใหญ่จะรู้จักคนกลุ่มนี้ในนามของ
บ้านห้วยฮ่อมพัฒนา ต?าบลบ้านเวียง อ?าเภอร้องกวาง ผีตองเหลือง เนื่องจากที่พักอาศัยท?าจากใบตองหรือไม้ต่าง ๆ และมีการย้าย
จังหวัดแพร่ บ้านท่าวะ ต?าบลสะเอียบ อ?าเภอสอง ที่พักและพื้นที่หาอาหารอยู่เสมอ กล่าวคือระยะเวลาที่อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งนั้น
๑
68