Page 71 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 71
สั้นมาก และเมื่อมีคนอื่นเข้าไปใกล้คนมลาบรีจะ
กลัวและหลบหนีเข้าป่าอย่างรวดเร็ว ท?าให้คนทั่วไป
เห็นแต่เพิงพักที่อาศัยที่ท?าด้วยใบตองที่แห้ง เหี่ยว
และเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แต่ไม่พบคน จึงเรียกคนกลุ่มนี้
ว่า ผีตองเหลือง การเรียกชื่อนี้คนมลาบรีไม่ชอบ
และบอกว่าเรียก ตองเหลือง ก็ยังไม่เป็นไร แต่อย่า
เรียกว่าผีตองเหลือง เพราะพวกเขาไม่ใช่ผีและก็
กลัวผีด้วย
ตามรอยวิถีมลาบรี
คนมลาบรีเป็นกลุ่มที่มีวัฒนธรรมแบบเก็บหา
ของป่าและล่าสัตว์ เคลื่อนย้ายไปตามแหล่งที่มีอาหาร
๒ ที่อุดมสมบูรณ์ มีความรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จาก
พรรณพืชเพื่อเป็นอาหาร ยาสมุนไพร เครื่องใช้
คนทั่วไปไม่คุ้นเคยกับค?าว่า มลาบรี เป็นกลุ่มชนที่รักสันโดษ มีการแบ่งปันอาหาร
ส่วนใหญ่จะรู้จักคนกลุ่มนี้ และสิ่งที่ได้มาให้กับคนในกลุ่มอย่างเหมาะสมและ
ในนามของ ผีตองเหลือง เท่าเทียม รักธรรมชาติ ต้นไม้ ป่าเขา มลาบรีบางคน
สามารถเป่าแคนและขับร้องท?านองหมอล?าด้วยภาษา
มลาบรีได้อย่างไพเราะ
ปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติในป่าที่เป็นฐาน
ของวัฒนธรรมมลาบรีได้ถูกท?าลายลงอย่างมากกระทั่ง
ไม่เพียงพอที่จะสามารถด?ารงชีวิตแบบหาของป่า-
ล่าสัตว์ได้อีก บัดนี้คนมลาบรีมีการเปลี่ยนแปลงวิถี
การด?ารงชีวิตจากการเร่ร่อนมาอยู่ตั้งบ้านเรือนเป็น
หลักแหล่ง เริ่มปลูกข้าว ปลูกข้าวโพด เป็นแรงงาน
รับจ้าง การเปลี่ยนแปลงนี้ท?าให้มลาบรีต้องเผชิญกับ
การปรับตัวทางวัฒนธรรมใหม่ที่ค่อนข้างยากล?าบาก
ความไม่รู้เท่าทันโลก ความไม่สามารถพึ่งตัวเองได้
ปัญหาสิทธิมนุษยชน การศึกษา การท่องเที่ยวชนเผ่า
สุขภาพอนามัย การเสื่อมถอยของภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรม ปัญหาต่าง ๆ ที่ประสบอยู่นี้ส่งผลถึงความ
วิกฤตทางภาษาขั้นรุนแรง ภาษามลาบรีจึงเป็นภาษา
หนึ่งในประเทศไทยเสี่ยงต่อการสูญหาย
๓ การจะธ?ารงรักษาภาษาและอัตลักษณ์มลาบรี
๑ คนกลุ่มนี้ไม่ชอบให้เรียกพวกเขาว่า ผีตองเหลือง แต่อยากให้เรียกว่า มลาบรี ต้องท?าควบคู่ไปกับการพัฒนาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง
๒ แม้จะตั้งถิ่นฐานถาวร หากชาวมลาบรียังคงพยายามสืบสานวิถีการละเล่นแบบเดิม ๆ การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขอนามัย ที่อยู่อาศัย รวม
ของพวกเขาในงานปีใหม่บ้านห้วยหยวก
๓ วิถีชีวิตชาวมลาบรีที่บ้านห้วยหยวก อ?าเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ไปถึงเครื่องนุ่งห่ม และการด?ารงชีวิตอื่น ๆ
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 69