Page 63 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 63
๑ ศิลาจารึกหลักที่ ๓ หรือ
“จารึกนครชุม” สมัยสุโขทัย
มีข้อความว่า
“เหมืองแปลงฝายปรา...”
อยู่ตรงบรรทัดที่ ๗ ของด้านที่ ๒
ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่
หอพระสมุดวชิรญาณ
๒ “เหมืองไส้ไก่” หรือ “เหมืองซอย”
ล?าน?้าสาขาสายเล็ก ๆ ที่น?าน?้า
จากเหมืองหลวงแจกจ่ายน?้า
ออกไปยังแปลงเพาะปลูกต่าง ๆ
เหมือนเส้นเลือดฝอย
๓-๔ “เหมืองหลวง” เป็นล?าน?้า
ที่ขุดขึ้นมาเพื่อเชื่อมกับฝาย
ในแม่น?้าล?าคลองธรรมชาติ
คือเส้นเลือดใหญ่ของระบบ
เหมืองฝายก่อนแตกแขนง
แยกออกไปหล่อเลี้ยงพืชไร่
แต่ละแปลง
๔
ยกเว้นบริเวณภาคเหนือตอนบนหรือกลุ่มวัฒนธรรม รวมทั้งยังมีการแต่งตั้งคนท?างานหรือเจ้าหน้าที่
ล้านนา ได้แก่ ล?าปาง ล?าพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ในต?าแหน่งต่าง ๆ เพื่อควบคุมบริหารจัดการน?้าให้เป็น
แพร่ น่าน พะเยา และเชียงราย ที่ยังคงด?าเนินวิถี ระบบระเบียบอย่างดี เช่น หัวหน้าควบคุม เรียกว่า
เกษตรกรเยี่ยงบรรพบุรุษ สืบทอดภูมิปัญญาการท?า “แก่ฝาย” และ “แก่เหมือง” ผู้ประสานงานกับ
เหมืองฝายแบบดั้งเดิมด้วยความมั่นใจและหวงแหน ชาวบ้านเรียกว่า “หมื่นล่ามน?้า” และ ผู้ส?ารวจตรวจตรา
ในพงศาวดารโยนกและต?านานพื้นเมืองล้านนา เรียกว่า “เลียบน?้า” ส่วนราษฎรผู้ได้ผลประโยชน์
มีกล่าวถึงเหมืองฝายมานับสหัสวรรษ จนกระทั่ง ในระบบเหมืองฝายนั้น เรียกว่า “ลูกฝาย”
สมัยพ่อขุนมังราย พ.ศ. ๑๘๓๙ พระองค์ให้ความ แบบแผนในการสร้างระบบเหมืองฝายด้วย
ส?าคัญกับระบบเหมืองฝายเป็นอย่างยิ่งถึงกับได้มีการ ภูมิปัญญาดั้งเดิมที่สืบทอดมานั้น ได้พัฒนาจนมี
ตรากฎหมายไว้ในมังรายศาสตร์ เรื่องเหมืองฝาย ความลงตัวในประโยชน์ที่เอื้อกันอย่างสมบูรณ์แบบ
อย่างน่าสนใจ ดังนี้ ระหว่างคนและธรรมชาติของท้องถิ่น ซึ่งมีส่วน
“มาตรา ๑ ท?านาติดกัน ผู้หนึ่งชวนไปทดน?้า ส?าคัญและเป็นแนวทางในการสร้างระบบเหมืองฝาย
เข้านา มันไม่ยอมไปช่วยแต่คอยขโมยน?้าจากท่าน ดังนี้
หรือแอบขุดหนองน?้าท่าน เจ้านาเจ้าหนองได้ฆ่า เหมือง หรือล?าน?้าที่ขุดให้มีขนาดต่าง ๆ ตาม
มันตายก็เป็นอันสิ้นสุดไป อย่าว่าอะไรแก่เจ้านา ประโยชน์ใช้สอยที่ก?าหนด ได้แก่ “เหมืองหลวง” เป็น
ผีไม่ฆ่ามัน ก็ให้ปรับไหม ๑,๐๐๐,๐๐๐ เบี้ย” ล?าน?้าสายหลักที่มีล?าน?้าสาขาสายเล็ก ๆ แจกจ่ายน?้า
“ผู้ใดใสแพล่องถิ้มถูกฝายหลุ หื้อมันแปลง ออกไปยังส่วนต่าง ๆ ของพื้นที่เพาะปลูกที่เรียกว่า
แทน หรือมันแปลงบ่ได้ ฝายใหญ่เอาค่า ๑๑๐ เงิน “เหมืองไส้ไก่” หรือ “เหมืองซอย” ส?าหรับล?าน?้า
ฝายหน้อยเอา ๓๒ เงิน เพราะว่าเหลือก?าลัง แจกจ่ายไปให้ใช้สอยในครัวเรือนส?าหรับอุปโภค
มันนา” บริโภคนั้นเรียกว่า “เหมืองกิน” ส่วนล?าน?้าทิ้ง
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 61