Page 65 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 65
ทุก ๆ ปีเมื่อเริ่มเข้าสู่ฤดูท?านา บรรดาชาวบ้าน
ชาวนาที่ร่วมใช้สอยน?้าจากเหมืองฝายชุดเดียวกัน
ก็จะไปรวมกันที่หอผีฝาย เพื่อร่วมพิธีกรรมเลี้ยงผีฝาย
โดยมีพ่อหมอหรือปู่จารย์เป็นผู้กระท?าพิธี มีอาหาร
การกินพร้อมสรรพ ทุกคนที่เข้าร่วมพิธีกรรมก็จะ
ช่วยกันซ่อมแซมเหมืองฝายทั้งระบบให้คืนสู่สภาพดี
ใช้งานได้ตามต้องการ เสร็จสรรพก็ร่วมวงสนทนาเพื่อ
ทบทวน “สัญญาเหมืองฝาย” ที่ได้ร่วมกันตกลง ๓
ไว้สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งอาจมีการหารือเพื่อ
ปรับให้เข้ากับสถานการณ์ เพราะเหมืองฝายถือเป็น
ทรัพยากรในสิทธิส่วนรวมและจะไม่มีใครละเมิด
สิทธินั้นเลย
กลุ่มเหมืองฝายที่ยังสืบทอดมาในภาคเหนือ
ตอนบนหรือกลุ่มวัฒนธรรมล้านนาของประเทศไทย
มีจ?านวนถึง ๔๐๐๐ เหมืองฝาย นับเป็นวัฒนธรรม
พื้นบ้านดั้งเดิมที่ยังมีชีวิตชีวา เหมืองฝายล้านนายังมี
แบบแผนการสร้าง มีระบบการจัดการร่วมกัน มีประเพณี
และกฎระเบียบ มีชื่อเรียกองค์ประกอบในระบบ ซึ่ง
ทั้งหมดไม่แตกต่างจากที่พบในพงศาวดารและต?านาน
เมื่อครั้งสมัยพ่อขุนมังราย หรือกว่า ๗๐๐ ปีมาแล้ว
๔
๑ ร่องน?้าในแปลงพืชไร่จะมี
ความชุ่มฉ?่าได้เท่าที่ต้องการ
จากระบบเหมืองฝายโบราณ
๒ “เขียง” ท?านบสร้างขึ้น
ด้วยไม้กระดานแผ่นเล็ก ๆ
ในเหมืองไส้ไก่ เป็นเครื่องมือ
ช่วยเปลี่ยนทางน?้าเข้าสู่
แปลงไร่นา
๓-๔ ฝายเมื่อถูกสร้างขวาง
แม่น?้าหรือล?าคลอง ในฤดู
น?้ามากก็จะกลายเป็นน?้าตก
ขนาดเล็ก ๆ ที่สวยงาม
แต่เมื่อยามฤดูน?้าน้อย
ก็ยังเป็นอ่างเก็บน?้าที่
เพียงพอพึ่งพา
๒
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 63