Page 62 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 62

ดังที่ศิลาจารึกสมัยสุโขทัยปรากฏค?าว่า     “เหมือง” คือล?าน?้าที่ขุดขึ้นเพื่อส่งน?้าและ
                              เหมือง ฝาย อันแสดงให้เห็นว่าผู้คนในสมัยนั้นมี  มีหลายขนาดตามความต้องการของพื้นที่ ส่วนค?าว่า
                              ระบบการจัดการน?้าแล้ว เช่น ศิลาจารึกหลักที่ ๓ หรือ   “ฝาย” หมายถึงสิ่งก่อสร้างที่สร้างขวางกั้นแม่น?้า
                              จารึกนครชุม มีค?าว่า “เหมืองแปลงฝายรู้ปรา...”   ล?าคลอง ล?าธาร เพื่อกักชะลอและเก็บน?้า หรือ
                              นอกจากนี้ยังปรากฏในจารึกฐานพระอิศวรเมือง  เปลี่ยนแปลงทิศทางไหลของน?้า ยังมีฝายในโครงการ
                              ก?าแพงเพชรว่า “อนึ่งท่อปู่พระยาร่วงท?าเอาน?้า  พระราชด?าริ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ เรียกว่า “ฝายแม้ว”
                              ไปเถิงบางพานนั้นก็ถมหายสิ้นและเขาย่อม     ขณะที่สิ่งก่อสร้างมีลักษณะเป็นฝายขนาดใหญ่นั้น
                              ท?านาทางฟ้า และหาท่อนั้นพบ กระท?าท่อเอา   เรียกว่า “เขื่อน”
                              น?้าเข้าไปเลี้ยงนาให้เป็นนาเหมืองนาฝาย มิได้    เหมืองฝาย จึงเป็นชื่อเรียกระบบชลประทาน
                              เป็นทางฟ้า...” อันมีความหมายว่า ท่อที่พระยาร่วง   โบราณพื้นบ้านที่ครบวงจร เป็นระบบการจัดการน?้า
                              ท?าไว้เพื่อส่งน?้าไปถึงบางพานนั้นทรุดโทรมถูกทับถม  ที่อยู่กับเกษตรกรไทยมานาน เป็นวัฒนธรรมของคน

                              หายไป ชาวบ้านจึงต้องท?านาด้วยการพึ่งพาน?้าฝน   ที่อยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างพึ่งพาอาศัยไม่ท?าลาย และ
                              เมื่อหาท่อน?้าเก่านั้นพบก็จะได้ใช้งานน?าน?้าเข้านาตาม  เป็นมรดกทางภูมิปัญญาอันสูงค่าจากบรรพบุรุษ
                              ความต้องการให้เป็นนาเหมืองนาฝาย โดยไม่ต้องคอย   มรดกภูมิปัญญาการท?าเหมืองฝาย แม้ใน
       ๑                      ฝนจากฟ้าเพียงอย่างเดียว                   ปัจจุบันนี้อาจกล่าวได้ว่าแทบจะไม่มีให้เห็นมากนัก













































           ๔ ๒                                       ๓

          60
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67