Page 59 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 59

๒                                                      ๓

            ๑-๒ งานประกอบต้นสลากขนาดใหญ่ที่ยากล?าบาก มีหนุ่ม ๆ เป็นก?าลังส?าคัญที่ต่างร่วมแรงร่วมใจ เพื่อให้งานบุญนี้ส?าเร็จได้ด้วยความงดงาม  ๓ แม้ผู้เฒ่าผู้ชราก็ยัง
            ร่วมแรงได้ อย่างพ่ออุ้ยคนนี้ก?าลังสาวรอกส่งเครื่องให้คนที่ปีนป่ายประกอบต้นสลากข้างบน





                  ไม้เฮียวติดกระดาษสีแขวนเครื่องไทยทานถูกปักวนรอบ  สาดส่องช่วยให้หมู่ต้นสลากย้อมสูงตระหง่านยิ่งงดงามเรื่อเรือง
            เสากระโดงตามแนวทางเฉพาะตัว ท?าให้สลากย้อมแต่ละต้น  ในบรรยากาศยามค?่า
            มีรูปทรงและลวดลายสีสันแตกต่างกัน แล้วใช้ร่มประดับที่ยอด   วันที่สองของงาน ช่วงเช้ามีการแสดงซอพื้นเมืองและประกวด
            ของต้นสลากย้อม                                       การอ่านกะโลงโดยคณะตัวแทนจากเจ้าของสลากย้อมแต่ละต้น
                  กระทั่งถึงวันเริ่มงานทุกอย่างก็แล้วเสร็จ สลากย้อมสูงใหญ่  เนื้อหากะโลงจึงมิได้เล่าถึงประวัติหญิงสาวเจ้าของต้นสลากย้อมอีก
            หลากสีสัน ตกแต่งอย่างมีเอกลักษณ์ ทั้งยังสะท้อนให้เห็นความ แต่มักเกี่ยวกับกระบวนการท?าต้นสลากย้อมของแต่ละชุมชนที่บรรจง
            เปลี่ยนแปลงของยุคสมัย อาจมีที่มาจากแรงขับของการประกวด สร้างสรรค์อย่างตั้งใจเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา
            แข่งขัน แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า นี่คือผลงานที่สร้างจากศรัทธา และการ  ช่วงบ่ายมีพิธีอ่านเส้นสลากและพิธีถวายทานสลาก ตัวแทน
            ร่วมแรงร่วมใจของชาวบ้านในชุมชน                       คณะสงฆ์ทั่วจังหวัดล?าพูนมาชุมนุมกันอยู่ภายในพระวิหารหลวงเพื่อ
                  งานวันแรกมีชาวล?าพูนจากชุมชนต่าง ๆ เดินทางมาท?าบุญ ท?าพิธีจัดสรรปันส่วนเส้นสลากแด่พระภิกษุสามเณรแบบไม่เจาะจง
            ที่วัดพระธาตุหริภุญชัยตั้งแต่เช้าตรู่ ทั้งชาย หญิง พ่อแม่ลูก ผู้สูงวัย  ผู้รับ จากนั้นพระภิกษุสามเณรต้องออกเดินตามหาเจ้าของเส้นสลาก
            คุณย่าคุณยายนุ่งผ้าซิ่นงดงาม หน้าตาอิ่มเอิบผ่องใส คละเคล้าไปกับ จากข้อมูลที่เขียนไว้ในแผ่นสลาก ได้แก่ ชื่อ-นามสกุล ต?าแหน่งที่พวก
            นักท่องเที่ยวต่างถิ่น ทั้งชาวไทยและต่างชาติ รวมทั้งกลุ่มสื่อมวลชน เขารออยู่ภายในวัด บางคนอาจเขียนเบอร์โทรศัพท์มือถือไว้ให้ด้วย

            หลายแขนง ท?าให้ทั่วบริเวณวัดเนืองแน่นไปด้วยผู้คน     เมื่อพบแล้วก็เข้าไปรับประเคนเครื่องปัจจัยไทยทาน พร้อมให้ศีลให้พร
                  ตกเย็นเริ่มตั้งขบวนแห่ที่ศาลากลางจังหวัดล?าพูน ประกอบ  นับเป็นช่วงเวลาอิ่มเอมใจของเจ้าของเส้นสลาก ที่มีโอกาสได้ท?าบุญ
            ด้วยคณะของชุมชนต่าง ๆ และวัดที่ส่งต้นสลากย้อมเข้าร่วมประกวด   สืบทอดพระพุทธศาสนา จากนั้นก็ถือว่าสิ้นสุดพิธีการส?าหรับปีนี้
            รวมทั้งสถานศึกษา โรงเรียน และหน่วยราชการของจังหวัดล?าพูน
            เคลื่อนขบวนไปตามถนนอินทยงยศ กระทั่งเข้าสู่วัดพระธาตุหริภุญชัยฯ   ทานสลากย้อม ประเพณีเก่าแก่ของชาวยองแห่งเมืองล?าพูน
            ตอนหัวค?่า ราว ๑๙.๐๐ น.                              ที่เคยเลือนหายแล้วถูกรื้อฟื้นขึ้นมาใหม่ สะท้อนความเปลี่ยนแปลง
                  ต่อจากนั้นเป็นพิธีเปิดงาน ตามด้วยการแสดงทางวัฒนธรรม  ของยุคสมัยจากรูปแบบการจัดงานที่มีส่วนส่งเสริมการท่องเที่ยว
            ประกอบแสง สี เสียง แล้วช่วงเวลาที่หลายคนรอคอยก็มาถึง นั่นคือ ของจังหวัด เช่นการประกวดประชันต้นสลากย้อมที่เน้นความ
            การประกาศผลและมอบรางวัลการประกวดต้นสลากย้อม กลุ่มผู้ชนะ  สูงใหญ่และความแปลกใหม่ ซึ่งย่อมมีทั้งผู้ที่เห็นด้วย และผู้ที่เป็น
            ส่งเสียงเฮดีใจดังลั่นทันทีเมื่อรู้ผล                 ห่วงว่าประเพณีดั้งเดิมจะผิดเพี้ยนไป ค?าถามส?าคัญคงอยู่ที่ว่า
                  ในลานวัดมีผู้คนเดินชมต้นสลากย้อมกันเบียดเสียดแน่นขนัด  วันข้างหน้าชาวล?าพูนจะสามารถรักษาแก่นแท้หรือคุณค่าของ
            ทั้งคนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว ล?าแสงไฟสปอตไลต์หลากสีสันที่ ประเพณีสลากย้อมไว้ได้มากน้อยเพียงใด



                                                                                            เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐    57
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64