Page 55 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 55

๓





















                                                                  ๔


            ๑ สุวรรณเจดีย์หรือปทุมวดีเจดีย์กับต้นสลากย้อม  ๒ ขบวนแห่ต้นสลากเรียงรายหลายขนาด พร้อมชาวล?าพูนร่วมขบวนกระจายบุญไปทั่วย่านตัวเมืองก่อนเข้าสู่
            ลานวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร  ๓ ฝอยที่ปลายไม้เฮียวย้อมสีสันสดใสซึ่งเชื่อกันว่าเป็นที่มาของชื่อสลากย้อม  ๔ พญานาคสานด้วยใบมะพร้าว ใบตาล
            และหยวกกล้วย ผลงานหัตถศิลป์โดยยอดฝีมือพื้นบ้านในการตกแต่งสลากย้อม





                  ไม้เฮียวเป็นไม้ไผ่ที่เหลาจนเรียวเล็ก ตรงปลายขูดเป็น  เพราะพริ้ง ให้มีเนื้อหาพรรณนาถึงประวัติเจ้าของต้นสลาก จ?านวนเงิน
            เส้นฝอยคล้ายดอกไม้ แล้วย้อมด้วยสีสันสดใสสวยงาม เชื่อกันว่า  ที่ใช้และขั้นตอนในการจัดท?าต้นสลาก เพื่อให้เห็นความตั้งใจในการ
            เป็นที่มาของชื่อ “สลากย้อม” นั่นเอง                  ท?าบุญ อีกทั้งยังสอดแทรกคติธรรมในการด?าเนินชีวิต และบทตลก
                  ของถวายทานที่ใส่ในต้นสลากย้อมนั้น ส่วนหนึ่งเป็นของใช้  ขบขันเพื่อความบันเทิงของผู้ฟัง แล้วลงท้ายด้วยค?าแผ่ส่วนบุญกุศล
            ผู้หญิง เช่น แป้ง หวี เครื่องส?าอาง สร้อย แหวน เงินทอง ซึ่งเมื่อ  และความปรารถนาที่เจ้าของต้นสลากตั้งปณิธานไว้
            พระรับทานแล้วเจ้าของก็จะขอบูชาคืน กับอีกส่วนคือเครื่องใช้   การแต่งกะโลงจะแล้วเสร็จก่อนวันทานสลากราว ๑๕-๓๐ วัน
            ในชีวิตประจ?าวันของพระสงฆ์                           ยามค?่าคืนระหว่างการจัดท?าต้นสลากที่บ้านเจ้าภาพ มักมีชายหนุ่ม
                  ในช่วงระหว่างการท?าต้นสลากย้อม หญิงสาวเจ้าของต้นสลาก ที่รู้อักขระล้านนาแวะเวียนมาอ่านกะโลงของเจ้าของต้นสลาก
            จะไปว่าจ้างปราชญ์ที่มีความรู้ด้านตั๋วเมือง (อักขระล้านนา) ให้แต่ง  ด้วยท่วงท?านองไพเราะ ช่วยสร้างบรรยากาศรื่นรมย์ และเป็นที่
            “ก?าฮ?่า” หรือ “กะโลง” ซึ่งเป็นร้อยกรองของล้านนาที่มีลีลาขับขาน เชิดหน้าชูตาแก่หญิงสาวเจ้าของต้นสลาก



                                                                                            เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐    53
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60