Page 54 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 54

๑                                                   ๒



               สลากย้อมถือเป็นทานสลากพิเศษของชาวยอง ต้นสลาก         การท?าต้นสลากย้อมที่สูงใหญ่ มากด้วยข้าวของถวายทาน
          มีขนาดสูงใหญ่กว่าสลากชนิดอื่น นอกจากนั้นผู้ที่จะเป็นเจ้าภาพ   และสิ่งประดับตกแต่ง ถือเป็นงานใหญ่ที่อาจใช้เวลาตระเตรียม

          หรือเจ้าของต้นสลากจะต้องเป็นหญิงสาวในวัยพร้อมออกเรือน คือ  ไม่น้อยกว่า ๓ เดือน มักมีญาติพี่น้องและเพื่อน ๆ มาช่วยท?างานต่าง ๆ
          มีอายุ ๒๐ ปีขึ้นไป ตามความเชื่อที่ว่าการถวายทานสลากย้อมเป็น   โดยท?าเครื่องตกแต่งต้นสลากย้อมในตอนเย็นและตอนกลางคืน บ้างก็
          การท?าบุญครั้งใหญ่ของผู้หญิง ซึ่งท?าได้เพียงครั้งเดียว เปรียบได้กับ  มานอนค้างคืน รวมทั้งหนุ่ม ๆ จากบ้านใกล้และไกลที่เดินทางมา
          การบวชของผู้ชาย และยังเชื่อว่าหากหญิงใดทานสลากย้อมแล้วถือว่า  ช่วยงานเพราะหมายปองหญิงสาวเจ้าภาพ บ้างหวังมาแอ่วสาวที่
          พร้อมที่จะแต่งงานเป็นแม่บ้านที่ดีได้                บ้านงาน ท?าให้บรรยากาศยามค?่าคืนคึกคักครึกครื้นด้วยเสียงพูดคุย
               การทานสลากย้อมมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง หญิงสาวที่จะเป็น  หยอกเอินไปพร้อม ๆ กับการท?างาน
          เจ้าภาพจึงมักมาจากครอบครัวที่พอมีฐานะ ทว่าตนเองก็ต้องค่อย ๆ    ส่วนล?าต้นสลากย้อมจะท?าในตอนกลางวันโดยพวกผู้ชาย
          เก็บหอมรอมริบเงินทอง ทยอยซื้อหาข้าวของมาเตรียมไว้ รวมทั้ง   ที่มีความรู้ทางช่าง ล?าต้นสลากย้อมท?าจากไม้ไผ่ล?าใหญ่ เหยียดตรง
          ท?างานประดิดประดอยเอง เช่น งานเย็บปักถักร้อยเพื่อใช้เป็น   สูงกว่า ๘ เมตรขึ้นไป ประดับจ้อง (ร่ม) บนยอด ส่วนล?าต้นหุ้ม
          ของประดับต้นสลากย้อม ในแง่นี้เท่ากับเป็นกุศโลบายให้หญิงที่จะ  ด้วยฟาง ส?าหรับปักไม้แขวนของถวายทาน ที่เรียกว่า “เฮียว” และ
          ออกเรือนรู้จักการเก็บออม และฝึกฝนเรียนรู้งานอื่น ๆ เพื่อการเป็น  วัสดุส?าหรับตกแต่งเพื่อความสวยงาม
          แม่บ้านแม่เรือนที่ดี



          52
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59