Page 23 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 23
ระฆังหล่อโลหะสีแดง มีพนักงานตีระฆังบอกเวลา เมื่อพนักงาน ผู้ท?าหน้าที่ส่งสัญญาณ
ตีระฆังจบ พนักงานประโคมเป่าแตรงอน ๒ นาย แตรฝรั่ง ๒ นาย
ย?่ามโหระทึก ๑ นาย แต่เดิมดนตรีที่ใช้ประโคมย?่ายามมีเฉพาะวงสังข์แตร
ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และวงปี่ไฉน กลองชนะ อยู่ในงานเครื่องสูงของส?านักพระราชวัง
รัชกาลที่ ๕ ได้รื้อหอนาฬิกาและพระคลังแสง เพื่อใช้พื้นที่ก่อสร้าง ต่อมาจึงมีการน?าปี่พาทย์นางหงส์ ซึ่งแต่เดิมเป็นวงที่บรรเลง
พระที่นั่งบรมพิมาน ได้ย้ายระฆังมาแขวนที่ซุ้มป้อมยามประตู ในงานศพสามัญชนมาบรรเลงในพิธีหลวง โดยมีขึ้นครั้งแรก
เหล็กเพชร ตรงประตูทางเข้า โดยมีทหารรักษาวังเป็นผู้ตีระฆัง ในงานบ?าเพ็ญพระราชกุศลพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทรา
ส่วนพนักงานเครื่องสูงท?าหน้าที่ประโคมย?่ายาม บรมราชชนนี เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เมื่อสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ครั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชประสงค์ให้น?าวงปี่พาทย์นางหงส์
ทรงพระประชวร และประทับรักษาพระองค์ ณ พระที่นั่งจักรพรรดิ- เครื่องคู่ของกรมศิลปากรเข้ามาร่วมประโคมย?่ายามควบคู่กับวง
พิมาน เสนาบดีวังได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ระงับ ประโคมของงานเครื่องสูง แต่ครั้งล่าสุดนี้เนื่องจากเป็นพระบรมศพ
การตีระฆังและการประโคมย?่ายามตั้งแต่นั้นมา ยังคงไว้แต่ประเพณี ของพระเจ้าแผ่นดิน จึงเพิ่มจากวงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องคู่ เป็นวง
ประโคมย?่ายามพระบรมศพและพระศพ จวบจนปัจจุบันในงาน ปี่พาทย์นางหงส์เครื่องใหญ่เพื่อให้สมพระเกียรติ
บ?าเพ็ญพระราชกุศลพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร- ดังนั้นวงดนตรีที่ประโคมย?่ายามจึงประกอบด้วย วงประโคม
มหาภูมิพลอดุลยเดช ก็ยังคงรูปแบบการประโคมย?่ายามตามแบบ ของงานเครื่องสูง ของส?านักพระราชวัง แบ่งเป็น ๒ วงย่อย คือ
โบราณราชประเพณี ทั้งยังน?าวงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องใหญ่มา วงสังข์แตร ประกอบด้วย สังข์ แตรงอน และแตรฝรั่ง ส่วนวงปี่ไฉน
ประโคมร่วมกับวงเครื่องสูงของส?านักพระราชวังด้วย กลองชนะ ประกอบด้วย ปี่ไฉน เปิงมาง กลองชนะแดงลายทอง
๒
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 21