Page 22 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 22
๑
๑ วงประโคมในงานพระเมรุมาศสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (ภาพจากหนังสือจดหมายเหตุงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
กรมศิลปากร พ.ศ. ๒๕๔๑) ๒ วงประโคมของกลุ่มดุริยางค์ไทย ส?านักการสังคีต กรมศิลปากร ซึ่งเป็นวงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องใหญ่
ถอดความหมายประโคมย?่ายาม ความเป็นมา
หากจะกล่าวถึงความหมายของ “ประโคมย?่ายาม” ก็จ?าเป็น แต่เริ่มเดิมทีการประโคมย?่ายามเป็นพระราชประเพณีโบราณ
ต้องแยกค?าออกเป็น “ประโคม” “ย?่า” และ “ยาม” ในพระบรมมหาราชวัง เปรียบเสมือน “เครื่องประกอบพระอิสริยยศ”
“ประโคม” หมายถึง การบรรเลงดนตรีเพื่อเป็นสัญญาณใน ซึ่งได้มีระเบียบก?าหนดไว้เป็นแบบแผนตามโบราณราชประเพณีว่า
พิธีบางอย่างเพื่อสักการบูชาหรือยกย่อง “ย?่า” หมายถึง การตีกลอง “...ประกอบด้วยเครื่องสูง พระกลด บังสูรย์ พัดโบก บังแทรก
หรือฆ้องถี่ ๆ หลายครั้งเพื่อบอกเวลา ส่วน “ยาม” คือ ชื่อส่วน พุ่มไม้เงิน พุ่มไม้ทอง พรั่งพร้อมด้วยเครื่องประโคม เช่น สังข์ แตร
แห่งวัน ยามหนึ่งมี ๓ ชั่วโมง หนึ่งวัน จึงเท่ากับ ๘ ยาม ปี่ กลองชนะ...” ทั้งยังเป็นเครื่องบอกเวลาแก่เจ้าพนักงานในการ
เมื่อน?าทั้ง ๓ ค?ามารวมกัน “ประโคมย?่ายาม” จึงหมายถึง ปฏิบัติหน้าที่ สันนิษฐานว่ารับรูปแบบการย?่ายามในวัฒนธรรมอินเดีย
การบรรเลงดนตรีเพื่อการสักการบูชาและเป็นสัญญาณแจ้งให้ทราบ มาแต่โบราณ
ถึงเวลาที่จะต้องปฏิบัติงาน โดยมีระยะห่างกันครั้งละ ๓ ชั่วโมง ในยามปกติจะเรียกการประโคมย?่ายามว่า “ตีขานยาม”
เริ่มประโคมครั้งที่ ๑ ตั้งแต่เวลา ๐๖.๐๐ นาฬิกา จวบจนถึงเวลา เพื่อใช้ในการบอกเวลา ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยพระบาท-
๐๓.๐๐ นาฬิกา เป็นการประโคมครั้งที่ ๘ ซึ่งเป็นครั้งสุดท้าย สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง
ของรอบวัน โบราณเรียกว่า “ประโคมตลอดทั้งคืนทั้งวัน” หอนาฬิกาเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนหน้าพระคลังแสง ชั้นล่างแขวน
20