Page 99 - CultureMag2015-3
P. 99

“เดี๋ยวน้ีตูบเหย้าก็คือบ้านจัดสรรช้ันเดียว โดยสร้าง                  บพ้าิพนิธอภีสัณาฑนม์ ชี ีวติ
ยกพ้ืนสักนิด เมตรยี่สิบ หกสิบ แปดสิบเซ็นต์ แต่คนมอง 
ไมเ่ หน็ ความเชอื่ มโยง  มนั มาในรปู แบบใหม ่ หรอื บา้ นสองชน้ั                     สถาบนั วิจัยวลยั รุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คือบ้านชั้นเดียวใต้ถุนสูง แต่มาเพ่ิมหน้าท่ีใช้สอยข้างล่าง...                        ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดนู  จงั หวดั มหาสารคาม 
เรือนใหญ่มีห้องนอนสองห้อง จะต่างกันตรงไหนกับบ้าน                                    ใกลพ้ ระธาตุนาดูน
จัดสรรสองชั้น ก็มีห้องนอนสองห้อง แต่ไปไว้สลับที่กิน ส่วน                            ตดิ ต่อสอบถาม สถาบนั วิจยั วลัยรกุ ขเวช 
ขา้ งลา่ งก้ันฝา แล้วหากเอาฝาออกคอื บ้านช้นั เดยี วใต้ถุนสูง”                       มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม  
                                                                                    โทรศัพท ์ ๐ ๔๓๗๕ ๔๓๓๓ ต่อ ๑๗๔๑ 
       ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชายกล่าวท้ิงท้ายไว้ในการ                                 เวบ็ ไซต์ http://www.vkp.msu.ac.th/msuisanhouse/
สนทนาบ่ายวนั นนั้
                                                                 บรรณานกุ รม
       หากเม่ือใดคนรุ่นใหม่ไม่รู้เรื่องราวในอดีตก็จะไม่มี        สมชาย นิลอาธิ. “การสืบเน่ืองและการเปลี่ยนแปลงของเรือนอีสาน : 
รากแก้วท่ีแข็งแรง เพ่ือเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงด้วยสติ            	 กรณศี กึ ษาบา้ นหนองขาม จงั หวดั กาฬสนิ ธ”์ุ  วทิ ยานพิ นธส์ าขาวชิ า 
ปัญญาและความเข้าใจ  ฉะนั้นเป้าหมายของพิพิธภัณฑ ์                 	 มานษุ ยวทิ ยา ภาควชิ ามานษุ ยวทิ ยา บณั ฑติ วทิ ยาลยั  มหาวทิ ยาลยั  
บ้านอีสานจึงหมายถึงการสร้างพ้ืนที่ของการทบทวนกับอดีต             	 ศิลปากร, ๒๕๓๒.
ท�ำความเข้าใจกับสภาพท่ีเคยเป็น และมองเห็นว่าชีวิต
เปล่ยี นแปลงอยา่ งไรในปัจจุบนั                                               . “เถียงนา บ้านหลังแรกของมนุษย์ยุคแรกๆ ในสยาม,” 
                                                                 	 ศลิ ปวฒั นธรรม. ปที  ี่ ๑๓ ฉบบั ท ี่ ๘ (มถิ นุ ายน ๒๕๓๕), หนา้  ๑๘๙– 
      เพือ่  “ไมใ่ ห้ลืมรากเหง้า” ของคนอีสาน                     	 ๒๐๐.

                                                                             . “เรอื นอสี านและประเพณคี วามเปน็ อย,ู่ ” ศลิ ปวฒั นธรรม. 
                                                                 	 ปีท ่ี ๙ ฉบับที่ ๒ (ธันวาคม ๒๕๓๐), หน้า ๙๒–๙๖.

                                                                             . “เล้าข้าว,” เมืองโบราณ. ปีท่ี ๙ ฉบับท่ี ๓ (สิงหาคม– 
                                                                 	 กนั ยายน ๒๕๒๖), หน้า ๑๒๓–๑๒๙.

                                                                             . สัมภาษณ์ ๒๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘.

                                                                  กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 97
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104