Page 102 - CultureMag2015-3
P. 102

ใบนาครตอิคง วหานม้าเชก่ือาบลาหลี

       ฐานท่ีมั่นอันแข็งแกร่งของศาสนิกชนฮินดูในอินโด-                    ๑
นเี ซยี คอื เกาะบาหล ี เกาะเลก็ ๆ ทม่ี พี ลเมอื งอยรู่ าว ๔ ลา้ นคน      ๒
ทา่ มกลางวงลอ้ มของชาวมสุ ลมิ ทมี่ อี ยมู่ ากถงึ รอ้ ยละ ๘๗ จาก
ประชากรทั้งหมดกว่า ๒๓๐ ล้านคนของอนิ โดนเี ซีย 

       ตามศาสนสถาน วัง และบ้านเรือนของชาวบาหลี 
มักสร้างซุ้มประตูทางเข้าชั้นนอกที่มีลักษณะคล้ายประตูที่ถูก
ผ่าครึ่งแยกออกจากกัน เรียกว่า “จันทิ เปินตัร”  ซึ่งเปรียบ
เสมอื นเขาไกรลาส ทซี่ งึ่ พระศวิ ะประทบั บำ� เพญ็ เพยี รจนบรรลุ
โมกษะ (การรู้แจ้งหรือการบรรลุธรรม) แล้วจึงเกิดปาฏิหาริย์
ภูเขาไกรลาสแยกออกเป็นสองส่วน กลายเป็นประตูสองข้าง
ดังกล่าว จึงถือเป็นประตูแห่งความรู้แจ้งทางปัญญาของชาว
บาหลี  ประตูแยกน้ียังหมายถึงความสมดุลของโลกคือหญิง
กับชาย ความดกี ับความชว่ั  

       เมื่อผ่านประตูช้ันแรกเข้ามาแล้ว จะมีประตูช้ันที่ ๒ 
คอื “มหาเมร”ุ  หรอื  “กรู อิ ากงุ ” (The gateway to the heaven) 
มีรูปลักษณ์คล้ายภูเขา และมีประตูทางเข้าอยู่ตรงกลาง ซ่ึง
หมายความวา่ เมอื่ ชำ� ระลา้ งจติ ใจใหส้ ะอาด โดยผา่ นประตแู หง่
ความด-ี เลวมาแลว้  กส็ ามารถเดนิ เขา้ ประตสู ศู่ าสนสถานชนั้ ใน
สดุ   เปรยี บดงั่ ทพิ ยวมิ านบนยอดเขาพระสเุ มรบุ นสรวงสวรรค์  
ภายในเปน็ ทตี่ ง้ั ศาลสำ� หรบั เซน่ สรวงบชู าเทพเจา้ ชนั้ สงู สดุ  คอื
พระศิวะ พระวิษณุ และพระพรหม  ในวันปรกติ ประตูท่ี ๒ 
นปี้ ดิ อยเู่ สมอ ถา้ จะเดนิ ผา่ นตอ้ งเขา้ ประตเู ลก็ ทางซา้ ยและขวา  
ส่วนประตูใหญ่ตรงกลางซ่ึงถือเป็นประตูแห่งสรวงสวรรค์ จะ
เปดิ เฉพาะเมอ่ื มงี านสำ� คญั ทางศาสนาหรอื ในการตอ้ นรบั แขก
บา้ นแขกเมอื งเท่านน้ั

       เหนือประตูกูริอากุง หรือ “มหาเมรุ” มักมีลวดลาย
ปูนปั้นคล้ายรูปหน้ากาลหรือเกียรติมุขประดับอยู่ทุกประต ู
ชาวบาหลีเรียกว่า “บารอง” เปรียบเป็นตัวแทนแห่งคุณธรรม
ความดี และถือเป็นสัญลักษณ์ของการปกป้องอ�ำนาจภูตผี
วิญญาณช่ัวร้ายทั้งมวล  ชาวบาหลียังเช่ือว่าประตูท่ีมีบารอง
ประดบั ไว ้ คอื ประตแู หง่ ความตายของผโู้ งเ่ ขลา ผปู้ ระกอบดว้ ย
อวิชชา คือความมืดบอดในจิตใจ มาบดบังความดีงาม 

100 วัฒนธ รม
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107