Page 104 - CultureMag2015-3
P. 104
ในสมัยต่อมาหน้ากาลจะมีเทวดาประทับภายในซุ้ม ๔
เรือนแก้วอยู่ข้างบน ลายลักษณะนี้นิยมมากบนทับหลังใน ๕
ศิลปะแบบบาปวน นครวัด และบายน ถ้าหน้ากาลมองเห็น
ด้านข้าง เช่นหน้ากาลตามกรอบหน้าบัน มักคายรูปสัตว์ เช่น
สิงห์หรือนาค และมีขากรรไกรล่าง ส่วนหน้ากาลที่หันหน้า
ตรงและปรากฏอยู่ตรงกลางทับหลังนั้น ในศิลปะเขมรสมัย
แรกๆ บางคร้ังจะสลักลายหน้ากาลท่ีมีแขนหรือช่วงแขนเข้า
มาประกอบด้วย แต่ในสมัยหลังต้ังแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๖
เป็นต้นมา หน้ากาลมักจะมีแขนเสมอ จนกระทั่งในราวกลาง
พทุ ธศตวรรษท ่ี ๑๗ หนา้ กาลมเี ขยี้ วคหู่ นง่ึ งอกออกมาจากปาก
และหน้ากาลได้วิวัฒนาการกลายเป็นหน้าสิงห์หรือสิงหมุข
อย่างแท้จริงเพราะมีริมฝีปากล่าง นอกจากนั้นเราจะเห็น
ลายหน้ากาลกับลายมกรอาจแทนที่กันได้ตามปลายของ
กรอบหน้าบนั ลูกกรง และทอ่ นำ้�
รฮานิ หดูตู-าพมทุ คธต ิความเชื่อ
ตามความเชื่อของชาวฮินดู ราหูเป็นหนึ่งในเทพ ๔
นพเคราะห์ ผู้ก่อให้เกิดคราสของพระอาทิตย์และพระจันทร์
โดยมีเรื่องราวปลีกย่อยทั้งที่แตกต่างและคล้ายคลึงกันใน เทวดาประทบั น่ังในซ้มุ เหนอื หน้ากาลทค่ี ายท่อนพวงมาลัย
แต่ละคัมภีร์ บางคัมภีร์เล่าว่าราหูเป็นอสูรตนหนึ่งท่ีไปแอบ ปราสาทเมืองตำ่� จังหวดั บรุ ีรัมย์
ดม่ื นำ�้ อมฤตซงึ่ ไดจ้ ากการกวนเกษยี รสมทุ ร แตพ่ ระอาทติ ยก์ บั
พระจนั ทรม์ าพบเขา้ จงึ ฟอ้ งพระนารายณ ์ พระองคจ์ งึ ลงโทษ ๕
โดยเอาจักรขว้างตัดกายราหูออกเป็นสองส่วน แต่จากการที่
ราหูได้ด่ืมน�้ำอมฤตไปแล้วจึงกลายเป็นอมตะ เพียงแต่ไม่มี ภาพสลกั รปู ศวิ นาฏราชประทบั อยเู่ หนือหน้ากาล
ท่อนล่าง นับแต่น้ันมาด้วยความอาฆาตแค้น เมื่อพระจันทร์ ปราสาทศขี รภมู ิ จังหวัดสรุ นิ ทร์
และพระอาทติ ยโ์ คจรมาใกล ้ ราหกู จ็ ะคอยจบั เขา้ ปากกลนื กนิ เสยี
แต่แล้วก็ต้องหลุดออกทางท้องทุกทีไป กลายเป็นต�ำนาน
อธิบายปรากฏการณ์สุรยิ คราสและจันทรคราส
คติเร่ืองราหูคงเป็นมุขปาฐะที่ไทยรับมาจากชาว
อินเดีย ในเอกสารทางพุทธศาสนาเรียกราหูว่า “อสุรินทระ”
เป็นพญาอสูรที่น่าเกรงขาม มีร่างกายใหญ่โต ในส่วนท่ี
เก่ียวข้องกับพระพุทธเจ้ามีกล่าวไว้ในหลายคัมภีร์ เช่น ใน
จันทปริตรและสุริยปริตร กล่าวไว้ว่า จันทเทวบุตรและ
102 วฒั นธ รม