Page 103 - CultureMag2015-3
P. 103

ขณะเดียวกันก็เป็นประตูแห่งชีวิตของผู้รู้แจ้ง  การเดินผ่าน 
                                                                  เขา้ ประตนู จี้ งึ เทา่ กบั เอาอวชิ ชาในใจตนมาใหห้ นา้ กาลกลนื กนิ
                                                                  เพ่มิ พนู สริ ิมงคลแก่ชวี ิต

                                                                         พลงั อำ� นาจของเกยี รตมิ ขุ หรอื หนา้ กาลตามความเชอ่ื
                                                                  ในคติฮินดูยังส่งอิทธิพลให้แก่พุทธสถานด้วย ดังปรากฏการ
                                                                  ประดับรูปหน้ากาล ณ บุโรพุทโธ  บนเกาะชวาภาคกลาง 
                                                                  พุทธศาสนสถานในลัทธิมหายานที่ใหญ่ท่ีสุดในโลกแห่งน้ี 
                                                                  สรา้ งขน้ึ ราวป ี ๑๓๕๐ โดยกษตั รยิ ร์ าชวงศไ์ ศเลนทร ์ ซง่ึ นา่ จะมี 
                                                                  ความเชอื่ ตามคตเิ รอ่ื งลมหายใจศกั ดสิ์ ทิ ธแิ์ ละคตเิ รอ่ื งกาลเวลา
                                                                  ซ่ึงตามความหมายของหน้ากาลหรือกาละ ซ่ึงหมายถึงผู้ 
                                                                  กลืนกินทุกส่ิงทุกอย่าง สามารถเข้ากันได้กับพุทธศาสนา 
                                                                  จึงนิยมประดับลายหน้ากาลไว้ที่ซุ้มประตูทางเข้าพุทธสถาน

                               ๓                                  หในนวา้ ัฒกนาลธรปรรมะเดขบั มศราสนสถาน

๑                                                                        อารยธรรมเขมรโบราณได้รับอิทธิพลความเชื่อทาง
                                                                  ศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาจากอินเดียอย่างมาก รวมทั้งคติ
หนา้ กาลหรอื เกียรตมิ ขุ เหนือประตทู างเขา้ ศาสนสถาน              ความเชื่อเรื่องหน้ากาลหรือเกียรติมุข ซ่ึงมักปรากฏตาม 
ทป่ี รัมบานัน เกาะชวาภาคกลาง                                      ศาสนสถานเช่นกัน  ลายหน้ากาลนี้เป็นลวดลายส�ำคัญและ 
                                                                  แพรห่ ลายมากในศลิ ปะเขมรทงั้ ทพ่ี บในประเทศกมั พชู าและไทย   
๒                                                                 มักปรากฏอยู่ตามทับหลังหรือหน้าบันเหนือประตูทางเข้า 
                                                                  เพอ่ื ปอ้ งกันสง่ิ ชวั่ รา้ ยมิใหเ้ ขา้ มาสศู่ าสนสถานเป็นส�ำคัญ 
ศาลบชู าเทพเจา้ ภายในศาสนสถานฮินดบู นเกาะบาหล ี
ตกแต่งดว้ ยหน้ากาลตามส่วนตา่ งๆ                                          ในบางยุคลายหน้ากาลท่ีมองเห็นทางด้านหน้า 
                                                                  เปน็ ลวดลายสำ� คญั ทปี่ รากฏอยโู่ ดดๆ โดยไมม่ รี ปู เทวดาเขา้ มา
๓                                                                 เก่ียวข้อง โดยอยู่ตรงกลางทับหลัง และมักจะคายท่อนพวง
                                                                  มาลัยที่ตกแต่งด้วยลวดลายพรรณพฤกษา ซ่ึงน่าจะเป็นการ
มหาเมร ุ (กูริอากงุ ) ประตูชน้ั ในของศาสนสถานฮนิ ดบู นเกาะบาหล ี  ผสมผสานระหวา่ งคตเิ รอื่ งลมหายใจศกั ดส์ิ ทิ ธ ์ิ รว่ มกบั รปู แบบ
มีรปู หน้ากาลอย่เู หนอื ประตู                                     ศิลปะในท้องถิ่นที่นิยมท�ำลายพวงมาลัย ซ่ึงพวงมาลัยในคติ
                                                                  อนิ เดยี หมายถงึ ความอดุ มสมบรู ณน์ นั่ เอง ดงั เชน่ ทปี่ รากฏบน
                                                                  ทับหลัง ศิลปะแบบพระโค ท่ีปราสาทหินพนมวัน จังหวัด
                                                                  นครราชสีมา หรือทับหลังศิลปะเกลียงที่ปราสาทเมืองต�่ำ 
                                                                  จังหวดั บุรีรัมย์ เป็นตน้  

                                                                   กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 101
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108