Page 98 - CultureMag2015-3
P. 98

ตามล�ำดับ คนท่ีท�ำสองอย่าง ตูบต่อเล้ากับตูบเหย้า วันหนึ่ง                     ภาษิตท่ียกตัวอย่างมานี้แสดงให้เห็นประเพณีนิยม 
เขยิบมาสร้างเหย้า หรือถ้าพร้อม รอเวลาอีกนิดหนึ่ง ก็อาจ                  การเอาเขยเข้าบ้าน เพ่ือเป็นแรงงานในการเพิ่มผลิตผล
สรา้ งเปน็ เรอื นใหญ่ กจ็ ะเป็นเรือนท่ีสมบรู ณ์”                        ทางการเกษตร รวมทง้ั การรกั ษาความเหมาะสมระหวา่ งเรอื น
                                                                        ที่พักกับประเพณีการอยู่อาศัย หรือข้อห้ามของเขยในการอยู่
      ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ มชาย นลิ อาธ ิ หนง่ึ ในผรู้ ว่ มกอ่ ตง้ั    ร่วมเรือนกับพ่อตาแม่ยาย ที่ห้ามล่วงล้�ำขึ้นเปิงโดยเด็ดขาด
พิพิธภัณฑ์บ้านอีสาน สถาบันวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัย                       เพราะถอื วา่ เปน็ การลว่ งละเมดิ พอ่ ตา ผเู้ ปน็ เจา้ ของเรอื นและ
มหาสารคาม อธิบายให้ฟัง  สรุปได้ว่าลักษณะครัวเรือนชาว                    ในฐานะทเ่ี ปน็ ผนู้ ำ� ครอบครวั   การควบคมุ เรอ่ื งของเปงิ นแี้ สดง
อีสานแต่เดิมจะหมุนเวียนเป็นวงจรไปเร่ือยๆ  คู่แต่งงานใหม่                ให้เห็นว่า ผู้ท่ีเป็นเขยต้องมีความเคารพครอบครัวของภรรยา
จะแยกออกจากครอบครัวต้นมาสร้างครอบครัวเดี่ยว  เม่ือ                      และส่งผลใหอ้ ยู่รว่ มกันอย่างสงบสขุ ในครอบครัว
ครอบครวั เดย่ี วเตบิ โตมลี กู หลาน กจ็ ะกลายเปน็ ครอบครวั ตน้
อกี ครั้งหนง่ึ                                                                 ชีวิตทุกวันน้ีของคนอีสานเปล่ียนแปลงจากในอดีต
                                                                        ด้วยปัจจัยหลายประการ  สังคมหมู่บ้านไม่ได้พ่ึงพิงการ 
		 “เอาเขยมาเลี้ยงพ่อเฒา่ แมเ่ ฒ่า                                      เกษตรกรรมแต่เพียงอย่างเดียวอีกต่อไป  หมู่บ้านต่างๆ 
	 ปานไดข้ า้ วมาใส่เล้าใสเ่ ยีย                                         เชื่อมโยงกันด้วยถนนหนทาง ผู้คนอาศัยอุปกรณ์การส่ือสาร
	 เอาลูกใภม้ าเลี้ยงปเู่ ล้ยี งย่า 	                                    และโทรคมนาคม เช่น โทรศัพท์เคลื่อนท่ี อินเทอร์เน็ต เพื่อ
	 ปานไดผีหา่ มาใส่เฮือนใสช่ าน”                                         แลกเปลี่ยนข้อมูลและข่าวสาร  อย่างไรก็ดีอาจารย์สมชาย 
                                                                        นิลอาธิ คงให้ความส�ำคัญกับการเรียนรู้อดีต แม้จะไม่ใช่ 
                                                                        ความรู้เพื่อท�ำมาหากิน แต่เป็นความรู้ท่ีจะช่วยอธิบายที่มา
                                                                        และท่ไี ปของชีวิตในปจั จุบนั

              เปิ ง	 	      ห้องพ่อ-แม่ 	        ห้องส้วม/ส่วม

                                                                        บนเรอื น บริเวณของชานทีต่ ่อจากระเบยี งของบา้ น 
                                                                        หอ้ งด้านใน ทางซา้ ยมือสดุ เป็นห้องเปงิ  
                                                                        “นอกจากจะแสดงสถานภาพของหัวหนา้ ครอบครัวแลว้   
                                                                        ยังใช้เปน็ ทีเ่ กบ็ รักษาส่ิงเคารพสกั การบูชาตา่ งๆ 
                                                                        เชน่  รูปเคารพทางความเชอ่ื ศาสนา 
                                                                        อฐั ิธาตุของบรรพบุรษุ หรือสมาชกิ ในครวั เรอื น 
                                                                        ตลอดจนเครอื่ งรางของขลัง”
                                                                        (ภาพประกอบ : ศรณั ย์ ทองปาน) 

96 วฒั นธ รม
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103