Page 96 - CultureMag2015-3
P. 96

ในบริเวณพิพิธภัณฑ์มีเรือนอีสานและสิ่งปลูกสร้าง                    ครวั เรอื นและชีวิตของบา้ น 
ส�ำคัญๆ ในชีวิตคนอีสาน จำ� นวน ๑๖ จุด เพื่อให้ผู้ชมได้เห็น
ท้ังความเป็นอยู่ การท�ำกิน และสภาพแวดล้อม ได้แก่ เรือน                         ชีวิตของคนอีสานในอดีตสัมพันธ์กับการหาอยู่หากิน
ชาวนา เรือนประมง เรือนหมอยา เรือนผ้าทอ เรือนดนตรี                        ในสังคมกสิกรรมท่ีมีแรงงานในครัวเรือนเป็นส�ำคัญ ส�ำหรับ
เรือนสมเด็จพระเทพฯ โรงเกวียน และตูบเหย้า โดยในเรือน                      การเพาะปลูกข้าว การประมงพ้ืนบ้าน และการผลิตของใช้
แต่ละหลังพยายามแสดงให้เห็นการด�ำเนินชีวิตด้วยข้าวของ                     เสอื้ ผา้ ในครวั เรอื นทม่ี าจากวสั ดทุ หี่ าไดใ้ นทอ้ งถน่ิ   ดว้ ยเหตนุ ี้
เคร่ืองใช้ของชาวบ้าน ให้เหมาะสมตามสภาพที่เคยดำ� เนินอยู่                 ครวั เรอื นจงึ มคี วามสำ� คญั  เรอื นทส่ี ำ� คญั ๆ ในชวี ติ คนอสี านใน
ดังเช่นเรือนทอผ้า เป็นการจัดแสดงหุ่นสาธิตการสาวไหม                       อดตี มสี ามลกั ษณะ ไดแ้ ก ่ เรอื นใหญ ่ เหยา้ และตบู ตอ่ เลา้  และ
พร้อมแสดงวิธีการสาวไหม อุปกรณ์ในการเล้ียงหนอนไหม                         เถียงนา 
การปั่นฝ้ายและการย้อมสีเส้นด้ายส�ำหรับงานทอมือ รวมท้ัง
ป้ายนิทรรศการให้ค�ำอธิบายเกี่ยวกับข้ันตอนต่างๆ ในการ                           “เรอื นใหญม่ สี ามหอ้ ง หอ้ งหนงึ่ เปน็ หอ้ งของผ ี หอ้ งเปงิ  
ผลิตผ้าทอมือ การจัดแสดงหุ่นสาธิตและอุปกรณ์ดังกล่าวยัง                    หอ้ งกลางเปน็ หอ้ งพอ่ แม ่ แลว้ อกี ฟากตรงขา้ ม หอ้ งสว้ ม/สว่ ม
สะทอ้ นรปู แบบการใชพ้ นื้ ทใ่ี ตถ้ นุ เรอื นในวถิ ชี วี ติ ของชาวอสี าน  เป็นห้องลูกสาวลูกเขย  เมื่อลูกสาวแต่งงานให้อยู่ตรงน้ี หาก
ไดเ้ ป็นอย่างดี                                                          ลูกสาวอีกคนแต่งงาน คนน้ีต้องออกไป ตามแต่ความพร้อม
                                                                         จะสร้างตบู เหยา้ ก่อน หรอื หากยงั ไม่พรอ้ ม เรยี กว่าตูบตอ่ เลา้
                                                                         หรือตูบต่อเล้าข้าว อยู่ในบริเวณของพ่อแม่น่ีแหละ แต่ม ี
                                                                         บางคนท่ีพร้อมมากก็ไปสร้างเหย้าเลย ไม่จ�ำเป็นต้องสร้าง 

      “แม่ทองด�ำ” ทีเ่ คยเป็นหุ่นสาธติ การสาวไหม                         หูกหรือกี่ทอผ้า น�ำเสนอพอให้ผชู้ ม 
      แต่ภายหลงั กลายเปน็ วัตถศุ กั ด์ิสทิ ธส์ิ ำ� หรบั เซน่ ไหวไ้ ป     สรา้ งมโนภาพของชาวบา้ นทที่ อผ้า  
                                                                         และลวดลายท่ีเกดิ ขน้ึ ในระหวา่ งการทอ 
       (ภาพ : กอบโชค ทานะแสน) 

94 วัฒนธ รม
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101