Page 105 - CultureMag2015-3
P. 105
สุริยเทวบุตรถูกอสุรินทราหูจับ ด้วยมีเหตุเคียดแค้นกันมา ความเชื่อด้ังเดิมที่ว่ากบหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ ต่อมา
แต่ชาติปางก่อน จึงพากันมาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ เชตวัน เม่ือรับคติฮินดูเข้ามาจึงรับเอาวรรณกรรมและมุขปาฐะเรื่อง
มหาวิหาร เพื่อขอพระองค์เป็นท่ีพ่ึง พระองค์จึงตรัสให้ ราหูอมจันทร์เข้ามา เมื่อผสมผสานกับความเช่ือแบบพุทธ
อสุรินทราหูปล่อยท้ังสององค์เสีย อสุรินทราหูจึงยอมปล่อย ก็ท�ำให้ทัศนคติของคนพื้นเมืองเปลี่ยนไป โดยก�ำหนดให้กบ
เพราะกลวั วา่ ศรี ษะของตนจะแตกเปน็ เจด็ เสย่ี ง และชวี ติ จะไม่ เปน็ ราหเู ปน็ เทพฝา่ ยอธรรม และเดอื นหรอื พระจนั ทรเ์ ปน็ เทพ
ได้รับความสุข ส่วนในคัมภีร์ทางล้านนากล่าวว่า เม่ือราหูยัง ฝา่ ยธรรมแทน
ไมไ่ ดฟ้ งั ธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจา้ กม็ กั จะกลนื กนิ เทวบตุ ร
ทั้งสองเสมอ ต่อเมื่อได้ฟังธรรมพระพุทธเจ้าจึงไม่ได้กลืนกิน จะเห็นได้ว่าคติความเชื่อในเร่ืองของหน้ากาลหรือ
อีก ได้แต่เอาฝ่ามือดึงคางมาทับทรวงอก แล้วแลบล้ินเลียอยู่ เกียรติมุข และราหูตามแบบศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาใน
เท่านั้น อษุ าคเนย ์ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ อทิ ธพิ ลวฒั นธรรมอนิ เดยี ทก่ี ระจาย
ไปอยา่ งกวา้ งขวาง
หลายต�ำนานทเี่ กยี่ วกับราหูมกั กลา่ วว่าราหูเป็นอสรู
ดังนั้นรูปแบบทางศิลปกรรมของราหูจึงมีหน้าเป็นอสูรหรือ และได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตชนพื้นเมืองใน
ยักษ์ ส่วนต�ำนานที่เป็นที่รู้จักแพร่หลาย คือการท่ีราหูถูกตัด
ออกเป็นสองท่อน ดังนั้นราหูในศิลปะไทยจึงมีหน้าเป็นยักษ์ อุษาคเนยต์ ราบจนถึงทกุ วนั น้ี
มงกุฎและเคร่ืองทรงก็เป็นแบบของฝ่ายยักษ์ สีกายมีทั้งสีเน้ือ
และสเี ขยี ว หากทำ� ครง่ึ ทอ่ น นยิ มแสดงใหเ้ หน็ เฉพาะสว่ นแขน
และมือ บางครั้งมีล�ำตัวท่อนบนปรากฏให้เห็นบ้าง รูปแบบ
ทางศิลปกรรมของราหูจึงไปคล้ายกับหน้ากาลหรือเกียรติมุข
ซึง่ เปน็ อสรู หนา้ ยกั ษ์เชน่ กัน
กบกนิ เดือน บรรณานกุ รม
กิตติ์ธนัตถ์ ญาณพิสิษฐ์. “‘กบกินเดือน’ ในฮูปแต้มเมืองขอนแก่น
ความเช่ือเรื่องกบกินเดือนคงเป็นความเชื่อพื้นเมือง และมหาสารคาม.” เมอื งโบราณ ปที ่ี ๓๙ ฉบบั ท ี่ ๓ (กรกฎาคม –
ด้ังเดิมของชนชาติไทก่อนที่เรื่องราหูของอินเดียจะแพร่เข้ามา กันยายน ๒๕๕๖).
เพราะคนไทในเวยี ดนาม ลาว จีน พม่า และไทย มคี วามเชือ่ ขนิษฐา มากทวี. คติความเชื่อเร่ืองพระราหูในวัฒนธรรมลาวในภาค
เรื่องกบกินเดือน โดยก�ำหนดให้กบเป็นความหมายของเทพ ตะวันออกเฉียงเหนือ. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรปริญญา
ฝ่ายธรรมและเดือนเป็นเทพฝ่ายอธรรม (ผู้ลักขโมย) ดัง ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ปรากฏในวรรณกรรมอีสานว่าชายผู้หนึ่งได้ไปพบเปลือกไม้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓
วเิ ศษ ซงึ่ หากนำ� มาเคยี้ วแลว้ พน่ ใสส่ ตั วท์ ต่ี ายแลว้ กจ็ ะสามารถ ธรี ภาพ โลหติ กุล. มนตราอาเซยี น. กรงุ เทพฯ : มติชน, ๒๕๕๖.
ฟื้นข้ึนมาได้ ต่อมาได้ถูกพระจันทร์ขโมยไป กบตัวหนึ่งซึ่ง พลอยชมพู ยามะเพวัน. พัฒนาการจากหน้ากาลมาเป็นราหูในสมัย
ชายคนนน้ั เคยชบุ ชวี ติ ใหจ้ งึ อาสาไปตดิ ตามนำ� ยามาคนื ให ้ แต่ รัตนโกสินทร์. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตร-
พอกบเข้าไปใกล้พระจันทร์เม่ือใด ชาวบ้านนึกว่ากบจะกิน มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย
พระจันทร์ เลยพากันตีฆ้องกลองช่วยพระจันทร์ กบจึงไม่ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ปีการศึกษา ๒๕๕๔.
สามารถน�ำยากลับมาคืนได้ แต่กบก็ยังพยายามอยู่ตลอดมา มลู นธิ สิ ารานกุ รมวฒั นธรรมไทย. สารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ภาคเหนอื
เลม่ ๑๑. กรุงเทพฯ : ธนาคารไทยพาณชิ ย,์ ๒๕๔๒.
การก�ำหนดให้กบเป็นเทพฝ่ายดีก็เน่ืองมาจาก สมิทธิ ศิริภัทร์ และ มยุรี วีระประเสริฐ. ทับหลัง. กรุงเทพฯ : กรม
ศลิ ปากรและธนาคารไทยพาณชิ ย,์ ๒๕๓๒.
อ รุ ณ ศั ก ดิ์ กิ่ ง ม ณี . ทิ พ ย นิ ย า ย จ า ก ป ร า ส า ท หิ น . ก รุ ง เ ท พ ฯ :
เมืองโบราณ, ๒๕๕๕.
กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 103